สถิติการค้า

สถิติการค้าของอินโดนีเซีย ในห้วงเดือนมกราคม 2566

1. การส่งออก

1.1 มีมูลค่า 22.31 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 6.36 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.37 yoy

1.2 ในมูลค่าการส่งออกทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 22.920.839 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 6.81.94 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.976.88 yoy โดยในจำนวนนี้อุตสาหกรรมที่สำคัญคือสินค้าจากอุตสาหกรรมแปรรูป (processing industry) มูลค่า 15.656.68 พันล้าน USD สินค้าจากเหมืองแร่ มูลค่า 4.815.89 พันล้าน USD และสินค้าเกษตร/ป่าไม้/ประมง มูลค่า 370420 ล้าน USD
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 1.4914 พันล้าน USD เพิ่มขึ้น ลดลงร้อยละ 0.9811.85 mom และร้อยละ 65.0315.23 yoy mom ตามลำดับ

1.3 ประเทศ คู่ค้าสำคัญที่ อินโดนีเซีย ส่งออกสินค้า non-oil and gas มากที่สุดในเดือน พ.ย. ม.ค. 66 65 จำนวน 5 3 อันดับแรก ได้แก่ จีน (5.256.28 พันล้าน USD) สหรัฐฯ (1.952.1 พันล้าน USD) และ ญี่ปุ่น (1.89 พันล้าน USD) อินเดีย (1.62 พันล้าน USD) และ มาเลเซีย (1.05 พันล้าน USD)และส่งออกสินค้าไปไทยในเดือนนี้มูลค่า 496.2 ล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 2.38 ของการส่งออกเดือน ม.ค. 66

1.4 สำหรับในกลุ่ม ประเทศ อาเซียน มีมูลค่าการส่งออกรวม 3.93 พันล้าน USD ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการส่งออกสินค้าประเภทแร่พลังงาน (ถ่านหิน) และยานพาหนะและอุปกรณ์ โดยเรียง ประเทศ ที่มีมูลค่าการส่งออกสูงสุด ดังนี้

  1. ฟิลิปปินส์ 1.035 พันล้าน USD
  2. มาเลเซีย 926 ล้าน USD
  3. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มูลค่า 807.3 ล้าน USD
  4. เวียดนาม 522.4 ล้าน USD
  5. ไทย

2. การนำเข้า

2.1 มีมูลค่า 18.4496 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 7.15 0.91 mom แต่เพิ่มขึ้นละร้อยละ 1.271.89 yoy ตามลำดับ

2.2 ในมูลค่าการนำเข้าทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 15.54 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 6.75 mom และ ร้อยละ 2.78 yoy ตามลำดับ โดยในจำนวนนี้ แบ่งออกเป็นการนำเข้าสินค้าหลัก 3 กลุ่ม คือ สินค้าประเภทวัตถุดิบและส่วนประกอบ 13.89 พันล้าน USD สินค้าทุน (capital goods) 2.96 พันล้าน USD และสินค้าอุปโภค (consumption goods) 1.6 พันล้าน USD
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 2.91 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 9.21 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 30.36 yoy ตามลำดับ

2.3 ประเทศ คู่ค้าสำคัญ ที่ อินโดนีเซีย นำเข้าสินค้าประเภท non-oil and gas มากที่สุดในเดือน ม.ค. 65 จำนวน 3 อันดับแรก ได้แก่

  1. จีน 5.32 9 พันล้าน USD
  2. ญี่ปุ่น 1.361.44 พันล้าน USD
  3. ไทย 89540 ล้าน USD หรือร้อยละ 5.7621 ของมูลค่าการนำเข้าทั้งเดือน

2.4 สำหรับในกลุ่ม ประเทศ อาเซียน มีมูลค่าการนำเข้ารวมทั้งหมด 2.51 พันล้าน USD ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการนำเข้าเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกส์และส่วนประกอบ/อุปกรณ์ และเครื่องจักรกลและส่วนประกอบ/อุปกรณ์ โดยเรียง ประเทศ ที่มีมูลค่าการนำเข้าสูงสุด ดังนี้

  1. ไทย
  2. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 565.2 ล้าน USD
  3. มาเลเซีย มูลค่า 497.4 ล้าน USD
  4. เวียดนาม 419.8 ล้าน USD
  5. ฟิลิปปินส์ 125.8 ล้าน USD

3. การได้ดุลการค้า

ในเดือนนี้ อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้า 3.87 พันล้าน USD และเป็นการได้ดุลการค้าติดต่อกัน 33 เดือนตั้งแต่เดือน พ.ค. 63 อย่างไรก็ดี ในเดือนนี้ อินโดนีเซีย เสียดุลการค้าให้ไทยประมาณ 398.8 ล้าน USD โดยสินค้าที่ขาดดุลการค้าให้ไทยมากที่สุดในเดือนนี้ คือ

  1. น้ำตาล (sugar and confectionary – HS 17) ขาดดุล 201 ล้าน USD
  2. พลาสติกและสินค้าจากพลาสติก (HS 39) ขาดดุล 65 ล้าน USD
  3. เครื่องจักร ส่วนประกอบ และอุปกรณ์ ขาดดุล 61.4 ล้าน USD


ที่มา : https://www.bps.go.id/pressrelease/2023/02/15/1962/ekspor-januari-2023-mencapai-us-22-31-miliar--turun-6-36--persen-dibanding-desember-2022-dan-impor-januari-2023-senilai-us-18-44-miliar--turun-7-15-persen-dibanding-desember-2022.html




สถิติการค้าของอินโดนีเซีย ในห้วงเดือนกุมภาพันธ์ 2566

1. การส่งออก

1.1 มีมูลค่า 21.4 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 4.15 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.51 yoy

1.2 ในมูลค่าการส่งออกทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 20.21 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 3 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.76 yoy โดยในจำนวนนี้อุตสาหกรรมที่สำคัญคือสินค้าจากอุตสาหกรรมแปรรูป (processing industry) มูลค่า 15.52 พันล้าน USD สินค้าจากเหมืองแร่ มูลค่า 4.35 พันล้าน USD และสินค้าเกษตร/ป่าไม้/ประมง มูลค่า 340 ล้าน USD
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 1.19 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 20.26 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.27 yoy ตามลำดับ

1.3 ประเทศ คู่ค้าสำคัญที่ อินโดนีเซีย ส่งออกสินค้า non-oil and gas มากที่สุดในเดือน ก.พ. 66 จำนวน 3 อันดับแรก ได้แก่ จีน (5.04 พันล้าน USD) สหรัฐฯ (1.91 พันล้าน USD) และ ญี่ปุ่น (1.74 พันล้าน USD) และส่งออกสินค้าไปไทยในเดือนนี้มูลค่า 560 ล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 2.75 ของการส่งออกเดือน ก.พ. 66 (เพิ่มขึ้นจากการส่งออกเดือน ม.ค. 66 ซึ่งอยู่ที่ 496.2 ล้าน USD) อนึ่งสำหรับกลุ่ม ประเทศ อาเซียน มีมูลค่าการส่งออกรวม 3.97 พันล้าน USD ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการส่งออกสินค้าประเภทแร่พลังงาน (ถ่านหิน) และยานพาหนะและอุปกรณ์

1.4 มูลค่าการส่งออกของ อินโดนีเซีย ในเดือน ม.ค. - ก.พ. 66 อยู่ที่ 43.72 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.28 yoy โดยในจำนวนนี้เป็นสินค้า non-oil and gas มูลค่า 41.05 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.73 yoy


2. การนำเข้า

2.1 มีมูลค่า 15.92 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 13.68 mom และร้อยละ 4.32 yoy ตามลำดับ

2.2 ในมูลค่าการนำเข้าทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 15.54 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 6.75 mom และ ร้อยละ 2.78 yoy ตามลำดับ โดยในจำนวนนี้ แบ่งออกเป็นการนำเข้าสินค้าหลัก 3 กลุ่ม คือ สินค้าประเภทวัตถุดิบและส่วนประกอบ 13.89 พันล้าน USD สินค้าทุน (capital goods) 2.96 พันล้าน USD และสินค้าอุปโภค (consumption goods) 1.6 พันล้าน USD
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 2.41 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 17.19 mom และร้อยละ 17.08 yoy ตามลำดับ

2.3 ประเทศ คู่ค้าสำคัญที่ อินโดนีเซีย นำเข้าสินค้าประเภท non-oil and gas มากที่สุดในเดือน ก.พ. 66 จำนวน 3 อันดับแรก ได้แก่

  1. จีน 4.04 พันล้าน USD
  2. ญี่ปุ่น 1.41 พันล้าน USD
  3. ไทย ประมาณ 898.5 ล้าน USD หรือร้อยละ 6.65 ของมูลค่าการนำเข้าทั้งเดือน

อนึ่ง สำหรับในกลุ่ม ประเทศ อาเซียน มีมูลค่าการนำเข้ารวมทั้งหมด 2.48 พันล้าน USD ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการนำเข้าเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกส์และส่วนประกอบ/อุปกรณ์ และเครื่องจักรกลและส่วนประกอบ/อุปกรณ์

2.4 มูลค่าการนำเข้าของ อินโดนีเซีย ในเดือน ม.ค. - ก.พ. 66 อยู่ที่ 34.36 พันล้าน USD โดยในจำนวนนี้เป็นสินค้า non-oil and gas มูลค่า 29.05 พันล้าน USD


3. การได้ดุลการค้า

3.1 ในเดือนนี้ อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้า 5.48 พันล้าน USD และเป็นการได้ดุลการค้าติดต่อกัน 34 เดือนตั้งแต่เดือน พ.ค. 63 อย่างไรก็ดี เดือนนี้เป็นเดือนที่ 6 แล้วที่มูลค่าการส่งออกของ อินโดนีเซีย ลดลงอย่างต่อเนื่อง แม้จะยังได้ดุลการค้าก็ตาม โดยในเดือน ก.พ. 66 มีการลดลงของมูลค่านำเข้ามากที่สุดเมื่อเทียบอัตราส่วนกับการส่งออกซึ่งเป็นสัญญาณว่า ศก. โลกกำลังชะลอตัว และผู้บริโภคพยายามควบคุมการจับจ่ายใช้สอยมากขึ้น

3.2 ในเดือนนี้ อินโดนีเซีย เสียดุลการค้าให้ไทยประมาณ 342.1 ล้าน USD โดยสินค้าที่ขาดดุลการค้าให้ไทยมากที่สุดในเดือนนี้ คือ

  1. น้ำตาล (sugar and confectionary – HS 17) ขาดดุล107.7 ล้าน USD
  2. เครื่องจักร ส่วนประกอบ อะไหล่ และอุปกรณ์ (HS 84) ขาดดุล 94.9 ล้าน USD
  3. ยานพาหนะและอะไหล่ (HS 87) ขาดดุล 83.1 ล้าน USD 1.3.1.3.3 ระหว่างเดือน ม.ค. - ก.พ. 66 อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้ารวม 9.35 พันล้าน USD


ที่มา : https://www.bps.go.id/pressrelease/2023/03/15/1963/ekspor-februari-2023-mencapai-us-21-40-miliar--turun-4-15-persen-dibanding-januari-2023-dan-impor-februari-2023-senilai-us-15-92-miliar--turun-13-68-persen-dibanding-januari-2023.html



สถิติการค้าของอินโดนีเซีย ในห้วงเดือนมีนาคม 2566

1. การส่งออก

1.1 มีมูลค่า 23.5 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.89 mom แต่ลดลงร้อยละ 11.33 yoy

1.2 ในมูลค่าการส่งออกทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 22.16 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.71 mom แต่ลดลงร้อยละ 11.7 yoy โดยในจำนวนนี้อุตสาหกรรมที่สำคัญคือสินค้าจากอุตสาหกรรมแปรรูป (processing industry) มูลค่า 16.62 พันล้าน USD สินค้าจากเหมืองแร่ มูลค่า 5.15 พันล้าน USD และสินค้าเกษตร/ป่าไม้/ประมง มูลค่า 380 ล้าน USD
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 1.34 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.79 mom แต่ลดลงร้อยละ 4.76 yoy ตามลำดับ

1.3 ประเทศคู่ค้าสำคัญที่อินโดนีเซีย ส่งออกสินค้า non-oil and gas มากที่สุดในเดือน มี.ค. 66 จำนวน 3 อันดับแรก ได้แก่ จีน (25.58 พันล้าน USD) สหรัฐฯ (1.97 พันล้าน USD) และญี่ปุ่น (1.78 พันล้าน USD) และส่งออกสินค้าไปไทยในเดือนนี้มูลค่า 514.8 ล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 2.32 ของการส่งออกเดือน มี.ค. 66

1.4 มูลค่าส่งออกของอินโดนีเซีย ในเดือน ม.ค. - มี.ค. 66 อยู่ที่ 67.20 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.6 yoy


2. การนำเข้า

2.1 มีมูลค่า 20.59 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 29.33 mom แต่ลดลงร้อยละ 6.26 yoy

2.2 ในมูลค่าการนำเข้าทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้า non-oil and gas มีมูลค่า 17.57 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 30.05 mom แต่ลดลงร้อยละ 4.86 yoy ตามลำดับ โดยในจำนวนนี้ แบ่งออกเป็นการนำเข้าสินค้าหลัก 3 กลุ่ม คือ สินค้าประเภทวัตถุดิบ และส่วนประกอบ 15.11 พันล้าน USD สินค้าทุน (capital goods) 3.71 พันล้าน USD และสินค้าอุปโภค 1.76 พันล้าน USD
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 3.02 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 25.28 mom แต่ลดลงร้อยละ 13.67 yoy

2.3 ประเทศคู่ค้าสำคัญที่อินโดนีเซีย นำเข้าสินค้าประเภท non-oil and gas มากที่สุดในเดือน มี.ค. 66 จำนวน 3 อันดับแรก ได้แก่ (1) จีน 5.68 พันล้าน USD (2) ญี่ปุ่น 1.49 พันล้าน USD (3) ไทย ประมาณ 1.1242 พันล้าน USD หรือร้อยละ 6.4 ของมูลค่าการนำเข้าทั้งเดือน (เพิ่มขึ้นจากเดือน ก.พ. 66 ซึ่งมีมูลค่าการนำเข้าจากไทย 898.5 ล้าน USD) อนึ่ง สำหรับในกลุ่มประเทศอาเซียน มีมูลค่าการนำเข้ารวมทั้งหมด 3.08 พันล้าน USD

2.4 มูลค่าการส่งออกของอินโดนีเซีย ในเดือน ม.ค. - มี.ค. 66 อยู่ที่ 54.95 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 3.28 yoy


3. การได้ดุลการค้า

3.1 ในเดือนนี้อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้า 2.91 พันล้าน USD และเป็นการได้ดุลการค้าติดต่อกัน 35 เดือนตั้งแต่เดือน พ.ค. 63 อนึ่ง ระหว่างเดือน ม.ค. - มี.ค. 66 อินโดนีเซียได้ดุลการค้ารวม 12.26 พันล้าน USD

3.2 อินโดนีเซียเสียดุลการค้าให้ไทยเดือนนี้ 609.4 ล้าน USD โดยสินค้าที่ขาดดุลการค้าให้ไทยมากที่สุดในเดือนนี้ คือ (1) น้ำตาล (sugar and confectionary – HS 17) ขาดดุล 334.7 ล้าน USD (2) เครื่องจักร ส่วนประกอบ อะไหล่ และอุปกรณ์ (HS 84) ขาดดุล 94.9 ล้าน USD และ (3) พลาสติกและสินค้าที่ผลิตจากพลาสติก (HS 39) ขาดดุล 81.3 ล้าน USD




สถิติการค้าของอินโดนีเซีย ในห้วงเดือนเมษายน 2566

1. การส่งออก

1.1 มีมูลค่า 19.29 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 19.29 mom และร้อยละ 29.4 yoy

1.2 ในมูลค่าการส่งออกทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 18.03 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 18.33 mom และร้อยละ 30.35 yoy ตามลำดับ โดยในจำนวนนี้ มูลค่าการส่งออกจากอุตสาหกรรมสำคัญ มีดังนี้ สินค้าจากอุตสาหกรรมแปรรูป (processing industry) มูลค่า 12.99 พันล้าน USD สินค้าจากเหมืองแร่ มูลค่า 4.75 พันล้าน USD และสินค้าเกษตร/ป่าไม้/ประมง มูลค่า 290 ล้าน USD
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 1.26 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 5.95 mom และร้อยละ 12.18 yoy ตามลำดับ

1.3 ประเทศคู่ค้าสำคัญที่อินโดนีเซีย ส่งออกสินค้า non-oil and gas มากที่สุดในเดือน เม.ย. 66 จำนวน 3 อันดับแรก ได้แก่ จีน (4.62 พันล้าน USD) สหรัฐฯ (1.57 พันล้าน USD) และอินเดีย (1.54 พันล้าน USD) และส่งออกสินค้าไปไทยในเดือนนี้มูลค่าประมาณ 357.7 ล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 1.98 ของการส่งออกทั้งเดือน อนึ่งสำหรับกลุ่มประเทศอาเซียน มีมูลค่าส่งออกรวม 3.16 พันล้าน USD

1.4 มูลค่าส่งออกของอินโดนีเซีย ในเดือน ม.ค. - เม.ย. 66 อยู่ที่ 86.35 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 7.61 yoy โดยในจำนวนนี้เป็นสินค้า non-oil and gas มูลค่า 81.08 พันล้าน USD ซึ่งลดลงร้อยละ 8.62 yoy


2. การนำเข้า

2.1 มีมูลค่า 15.35 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 25.45 mom และร้อยละ 22.32 yoy

2.2 ในมูลค่าการนำเข้าทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้า non-oil and gas มีมูลค่า 12.39 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 29.48 mom และร้อยละ 22.27 yoy ตามลำดับ โดยในจำนวนนี้ แบ่งออกเป็นการนำเข้าสินค้าหลัก 3 กลุ่ม คือ สินค้าประเภทวัตถุดิบ และส่วนประกอบ 11.6 พันล้าน USD สินค้าทุน (capital goods) 2.35 พันล้าน USD และสินค้าอุปโภค 1.4 พันล้าน USD
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 2.96 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 1.98 mom และร้อยละ 22.52 yoy ตามลำดับ

2.3 ประเทศคู่ค้าสำคัญที่อินโดนีเซีย นำเข้าสินค้าประเภท non-oil and gas มากที่สุดในเดือน เม.ย. 66 จำนวน 3 อันดับแรก ได้แก่ จีน 4.14 พันล้าน USD ญี่ปุ่น 0.99 พันล้าน USD และสหรัฐฯ 0.66 พันล้าน USD โดยในเดือนนี้ ไทยส่งออกสินค้าไปยังอินโดนีเซีย มูลค่า 613.3 ล้าน USD หรือร้อยละ 4.95 ของมูลค่าการนำเข้าของอินโดนีเซีย ทั้งเดือน อนึ่ง สำหรับในกลุ่มประเทศอาเซียน มีมูลค่าการนำเข้ารวมทั้งหมด 1.9 พันล้าน USD

2.4 มูลค่าการส่งออกของอินโดนีเซีย ในเดือน ม.ค. - เม.ย. 66 อยู่ที่ 70.3 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 8.19 yoy


3. การได้ดุลการค้า

3.1 ในเดือนนี้อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้า 3.94 พันล้าน USD และเป็นการได้ดุลการค้าติดต่อกัน 36 เดือนตั้งแต่เดือน พ.ค. 63 อนึ่ง ระหว่างเดือน ม.ค. - เม.ย. 66อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้ารวมประมาณ 16.2 พันล้าน USD

3.2 อินโดนีเซีย เสียดุลการค้าให้ไทยเดือนนี้ 255.6 ล้าน USD โดยสินค้าที่ขาดดุลการค้าให้ไทยมากที่สุดในเดือนนี้ คือ (1) น้ำตาล (sugar and confectionary – HS 17) ขาดดุล 145.4 ล้าน USD (2) พลาสติกและสินค้าที่ผลิตจากพลาสติก (HS 39) ขาดดุล 39.2 ล้าน USD และ (3) เครื่องจักร ส่วนประกอบ อะไหล่ และอุปกรณ์ (HS 84) ขาดดุล 39.2 ล้าน USD




สถิติการค้าของอินโดนีเซีย ในห้วงเดือนพฤษภาคม 2566

1. การส่งออก

1.1 มีมูลค่า 21.72 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.61 mom และร้อยละ 0.96 yoy

1.2 ในมูลค่าการส่งออกทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 20.4 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.18 mom และร้อยละ 1.94 yoy โดยในจำนวนนี้ มูลค่าการส่งออกจากอุตสาหกรรมสำคัญมีดังนี้ สินค้าจากอุตสาหกรรมแปรรูป (processing industry) มูลค่า 15.60 พันล้าน USD สินค้าจากเหมืองแร่ มูลค่า 4.41 พันล้าน USD และสินค้าเกษตร/ป่าไม้/ประมง มูลค่า 390 ล้าน USD
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 1.32 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.48 mom แต่ลดลงร้อยละ 12.10 yoy

1.3 ประเทศคู่ค้าสำคัญที่อินโดนีเซีย ส่งออกสินค้า non-oil and gas มากที่สุดในเดือน พ.ค. 66 จำนวน 3 อันดับแรก ได้แก่ จีน (4.77 พันล้าน USD) สหรัฐฯ (2.05 พันล้าน USD) และ ญี่ปุ่น (1.76 พันล้าน USD) และส่งออกสินค้าไปไทยในเดือนนี้มีมูลค่าประมาณ 547.9 ล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 2.38 ของการส่งออกทั้งเดือน อนึ่ง สำหรับกลุ่มประเทศอาเซียน มีมูลค่าส่งออกรวม 3.97 พันล้าน USD

1.4 มูลค่าส่งออกของอินโดนีเซีย ในเดือน ม.ค. - พ.ค. 66 อยู่ที่ 108.06 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 6.01 yoy


2. การนำเข้า

2.1 มีมูลค่า 21.28 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 38.65 mom และร้อยละ 14.35 yoy

2.2 ในมูลค่าการนำเข้าทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้า non-oil and gas มีมูลค่า 18.14 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 46.42 mom และร้อยละ 18.94 yoy โดยในจำนวนนี้ แบ่งออกเป็นการนำเข้าสินค้าหลัก 3 กลุ่ม คือ สินค้าประเภทวัตถุดิบและส่วนประกอบ 15.31 พันล้าน USD สินค้าทุน (capital goods) 3.9 พันล้าน USD และสินค้าอุปโภค 2.07 พันล้าน USD
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 3.14 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.09 mom แต่ลดลงร้อยละ 6.52 yoy

2.3 ประเทศคู่ค้าสำคัญที่อินโดนีเซีย นำเข้าสินค้าประเภท non-oil and gas มากที่สุดในเดือน พ.ค. 66 จำนวน 3 อันดับแรก ได้แก่ จีน 5.95 พันล้าน USD ญี่ปุ่น 1.59 พันล้าน USD และไทย 999 ล้าน USD อนึ่ง อินโดนีเซียนำเข้าสินค้าจากกลุ่มประเทศอาเซียน รวมทั้งหมด 3.01 พันล้าน USD

2.4 มูลค่าการนำเข้าของอินโดนีเซีย นัับเเต่เดือน ม.ค.- พ.ค. 66 อยู่ที่ 91.58 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 3.78 yoy โดยในจำนวนนี้เป็นสินค้า non-oil and gas มูลค่า 77.16 พันล้าน USD ซึ่งลดลงร้อยละ 2.81 yoy


3. การได้ดุลการค้า

3.1 ในเดือนนี้อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้า 440 ล้าน USD และเป็นการได้ดุลการค้าติดต่อกัน 37 เดือนตั้งแต่เดือน พ.ค. 63 อนึ่ง ระหว่างเดือน ม.ค. - พ.ค. 66อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้ารวมประมาณ 16.7 พันล้าน USD

3.2 อินโดนีเซีย เสียดุลการค้าให้ไทยเดือนนี้ 451.1 ล้าน USD โดยสินค้าที่ขาดดุลการค้าให้ไทยมากที่สุดในเดือนนี้ คือ (1) น้ำตาล (sugar and confectionary – HS 17) ขาดดุล 145.3 ล้าน USD (2) พลาสติกและสินค้าที่ผลิตจากพลาสติก (HS 39) ขาดดุล 99 ล้าน USD และ (3) ยานพาหนะและส่วนประกอบ (HS 87) ขาดดุล 84.9 ล้าน USD




สถิติการค้าของอินโดนีเซีย ในห้วงเดือนมิถุนายน 2566

1. การส่งออก

1.1 มีมูลค่า 20.61 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 5.08 mom และร้อยละ 21.18 yoy

1.2 ในมูลค่าการส่งออกทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 19.34 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 5.17 mom และร้อยละ 21.33 yoy
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 1.26 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 3.64 mom และร้อยละ 21.18 yoy ตามลำดับ

1.3 ประเทศคู่ค้าสำคัญที่อินโดนีเซีย ส่งออกสินค้า non-oil and gas มากที่สุดในเดือน มิ.ย. 66 จำนวน 3 อันดับแรก ได้แก่ จีน (4.58 พันล้าน USD) สหรัฐฯ (1.96 พันล้าน USD) และอินเดีย (1.67 พันล้าน USD) และส่งออกสินค้าไปไทยในเดือนนี้มูลค่าประมาณ 429.6 ล้าน USD ทั้งนี้อินโดนีเซีย มีมูลค่าการส่งออกไปยัง ประเทศสมาชิก ASEAN รวม 1.32 พันล้าน USD

1.4 การส่งออกของอินโดนีเซีย ระหว่างเดือน ม.ค. - มิ.ย. 66 มีมูลค่ารวม 128.66 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 8.86 yoy โดยสินค้า non-oil and gas มีมูลค่า 120.82 พันล้าน USD) ทั้งนี้ สินค้าส่งออกส่วนใหญ่มาจาก/ผลิตจากจาก จ. ชวาตะวันตก จ. กาลิมันตันตะวันออก และ จ. ชวาตะวันออก


2. การนำเข้า

2.1 มีมูลค่า 17.15 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 19.40 mom และร้อยละ 18.35 yoy

2.2 ในมูลค่าการนำเข้าทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้า non-oil and gas มีมูลค่า 14.93 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 17.73 mom และร้อยละ 13.86 yoy โดยในจำนวนนี้ แบ่งออกเป็นการนำเข้าสินค้าหลัก 3 กลุ่ม คือ สินค้าประเภทวัตถุดิบและส่วนประกอบ 12.36 พันล้าน USD สินค้าทุน (capital goods) 3.2 พันล้าน USD และสินค้าอุปโภค 1.59 พันล้าน USD
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 2.22 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 29.12 mom และร้อยละ 39.49 yoy ตามลำดับ

2.3 2.3 ประเทศคู่ค้าสำคัญที่อินโดนีเซีย นำเข้าสินค้าประเภท non-oil and gas มากที่สุดในเดือน มิ.ย. 66 ได้แก่ (1) จีน (4.85 พันล้าน USD) (2) ญี่ปุ่น (1.4 พันล้าน USD) (3) ไทย (780 ล้าน USD ซึ่งลดลงจากเดือน พ.ค. 66 ที่อินโดนีเซีย นำเข้าจากไทย 999 ล้าน USD

2.4 การนำเข้าของเดือนอินโดนีเซีย ระหว่างเดือน ม.ค. – มิ.ย. 66 มีมูลค่ารวม 108.73 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 6.42 yoy โดยสินค้า non-oil and gas มีมูลค่า 92.09 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 4.79 yoy


3. การได้ดุลการค้า

ในเดือนนี้อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้า 3.45 พันล้าน USD และเป็นการได้ดุลการค้าติดต่อกัน 38 เดือนตั้งแต่เดือน พ.ค. 63 ทำให้ตั้งแต่เดือน มิ.ค. - มิ.ย. 66อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้ารวมประมาณ 20.15 พันล้าน USD อย่างไรก็ดี ในเดือนนี้อินโดนีเซีย เสียดุลการค้าให้ไทยประมาณ 350.4 ล้าน USD




สถิติการค้าของอินโดนีเซีย ในห้วงเดือนกรกฎาคม 2566

1. การส่งออก

1.1 มีมูลค่า 20.88 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.36 mom แต่ลดลงร้อยละ 18.03 yoy

1.2 ในมูลค่าการส่งออกทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 19.65 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.62 mom แต่ลดลงร้อยละ 18.74 yoy
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 1.23 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 2.61 mom และร้อยละ 4.72 yoy ตามลำดับ

1.3 ประเทศคู่ค้าสำคัญที่อินโดนีเซีย ส่งออกสินค้า non-oil and gas มากที่สุดในเดือน ก.ค. 66 จำนวน 3 อันดับแรก ได้แก่ จีน (4.92 พันล้าน USD) สหรัฐฯ (2.03 พันล้าน USD) และอินเดีย (1.82 พันล้าน USD) และส่งออกสินค้าไปไทยในเดือนนี้มูลค่าประมาณ 470 ล้าน USD ทั้งนี้อินโดนีเซีย มีมูลค่าการส่งออกไปยัง ประเทศสมาชิก ASEAN รวม 3.6 พันล้าน USD

1.4 การส่งออกของอินโดนีเซีย ระหว่างเดือน ม.ค. - ก.ค. 66 มีมูลค่ารวม 149.54 พันล้าน USD


2. การนำเข้า

2.1 มีมูลค่า 19.57 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 14.1 mom แต่ลดลงร้อยละ 8.32 yoy

2.2 ในมูลค่าการนำเข้าทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 16.44 พันล้าน USD เพิ่มขึ้น ร้อยละ 10.1 mom แต่ลดลงร้อยละ 2.69 yoy โดยในจำนวนนี้ แบ่งออกเป็นการนำเข้าสินค้าหลัก 3 กลุ่ม คือ สินค้าประเภทวัตถุดิบและส่วนประกอบ 13.92 พันล้าน USD สินค้าทุน (capital goods) 3.56 พันล้าน USD และสินค้าอุปโภค 2.09 พันล้าน USD และ
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 3.13 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 40.94 mom แต่ลดลงร้อยละ 29.7 yoy ตามลำดับ

2.3 ประเทศคู่ค้าสำคัญที่อินโดนีเซีย นำเข้าสินค้าประเภท non-oil and gas มากที่สุดในเดือน ก.ค. 66 ได้แก่ (1) จีน (5.54 พันล้าน USD) (2) ญี่ปุ่น (1.41 พันล้าน USD) (3) เกาหลีใต้ (900 ล้าน USD) (4) สหรัฐฯ (880 ล้าน USD) และ (5) ไทย (840 ล้าน USD)

2.4 การนำเข้าของเดือนอินโดนีเซีย ระหว่างเดือน ม.ค. – ก.ค. 66 มีมูลค่ารวม 128.3 พันล้าน USD


3. การได้ดุลการค้า

ในเดือนนี้อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้า 1.31 พันล้าน USD และเป็นการได้ดุลการค้าติดต่อกัน 39 เดือนตั้งแต่เดือน พ.ค. 63 ทำให้ตั้งแต่เดือน มิ.ค. - ก.ค. 66อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้ารวมประมาณ 21.46 พันล้าน USD อย่างไรก็ดี ในเดือนนี้อินโดนีเซีย เสียดุลการค้าให้ไทยประมาณ 370 ล้าน USD




สถิติการค้าของอินโดนีเซีย ในห้วงเดือนสิงหาคม 2566

1. การส่งออก

1.1 มีมูลค่า 22 พันล้าน USD (+5.47% mom/ -21.21% yoy) โดยในมูลค่าการส่งออกทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 20.69 พันล้าน USD (+5.35% mom / -21.25% yoy)
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 1.32 พันล้าน USD (+7.50% mom / - 20.69% yoy)

1.2 มูลค่าการส่งออกจากอุตสาหกรรมสำคัญ

  1. อุตสาหกรรมแปรรูป 16.33 พันล้าน USD
  2. สินค้า/ผลผลิตจากเหมืองแร่ 3.96 พันล้าน USD
  3. สินค้าเกษตร/ป่าไม้/ประมง มูลค่า 390 ล้าน USD

ทั้งนี้ มูลค่าการส่งออกสินค้าสำคัญ มีดังนี้

  1. น้ำมันปาล์ม 2.4 พันล้าน USD (+5.32% mom / -35.23% yoy)
  2. ถ่านหิน 2.25 พันล้าน USD (-11.83% mom/ -48.91% yoy)
  3. เหล็กและเหล็กเหล้า 2.24 พันล้าน USD (+1.27% mom / -0.96% yoy)

1.3 ประเทศคู่ค้าสำคัญที่อินโดนีเซีย ส่งออกสินค้า non-oil and gas มากที่สุดในเดือน ส.ค. 66 จำนวน 3 อันดับแรก ได้แก่ จีน (5.37 พันล้าน USD) สหรัฐฯ (2.13 พันล้าน USD) และอินเดีย (1.84 พันล้าน USD) และส่งออกสินค้าไปไทยในเดือนนี้มูลค่าประมาณ 507 ล้าน USD ทั้งนี้อินโดนีเซีย มีมูลค่าการส่งออกไปยัง ประเทศสมาชิก ASEAN รวม 3.8 พันล้าน USD

1.4 การส่งออกของอินโดนีเซีย ระหว่างเดือน ม.ค. - ส.ค. 66 มีมูลค่ารวม 171.52 พันล้าน USD


2. การนำเข้า

2.1 มีมูลค่า 18.88 พันล้าน USD (-3.53% mom/ -14.77% yoy) โดยในมูลค่าการนำเข้าของเดือนนี้

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 16.22 พันล้าน (-1.34% mom / -12.10% yoy) โดยในจำนวนนี้ แบ่งออกเป็นการนำเข้าสินค้าหลัก 3 กลุ่ม คือ สินค้าประเภทวัตถุดิบและส่วนประกอบ 13.34 พันล้าน USD สินค้าทุน (capital goods) 3.4 พันล้าน USD และสินค้าอุปโภค 2.14 พันล้าน USD
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 2.66 พันล้าน USD (-15.01%mom / -28.08%yoy)

2.2 ประเทศคู่ค้าสำคัญที่อินโดนีเซีย นำเข้าสินค้าประเภท non-oil and gas มากที่สุดในเดือน ส.ค. 66 ได้แก่ (1) จีน (5.19 พันล้าน USD) (2) ญี่ปุ่น (1.5 พันล้าน USD) (3) อต. (890 ล้าน USD) และนำเข้าสินค้าจากไทยในเดือนนี้มูลค่าประมาณ 790 ล้าน USD ทั้งนี้อินโดนีเซีย มีมูลค่าการส่งออกไปยัง ประเทศสมาชิก ASEAN รวม 2.73 พันล้าน USD

2.3 การนำเข้าของเดือนอินโดนีเซีย ระหว่างเดือน ม.ค. – ส.ค. 66 มีมูลค่ารวม 147.18 พันล้าน USD


3. การได้ดุลการค้า

ในเดือนนี้อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้า 3.12 พันล้าน USD และเป็นการได้ดุลการค้าติดต่อกัน 40 เดือนตั้งแต่เดือน พ.ค. 63 ทำให้ตั้งแต่เดือน ม.ค. - ส.ค. 66อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้ารวมประมาณ 24.57 พันล้าน USD อย่างไรก็ดี ในเดือนนี้อินโดนีเซีย เสียดุลการค้าให้ไทยประมาณ 281 ล้าน USD




สถิติการค้าของอินโดนีเซีย ในห้วงเดือนกันยายน 2566

1. การส่งออก

1.1 มีมูลค่า 20.76 พันล้าน USD (-5.63% mom/ -16.17% yoy) โดยแบ่งออกเป็น

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 19.35 พันล้าน USD (-6.41% mom /-17.66% yoy)
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 1.41 พันล้าน USD (+6.54% mom /+11.61% yoy)

1.2 มูลค่าการส่งออกจากอุตสาหกรรมสำคัญ (1) อุตสาหกรรมแปรรูป 15.41 พันล้าน USD (2) สินค้า/ผลผลิตจากเหมืองแร่ 3.54 พันล้าน USD และ (3) สินค้าเกษตร/ป่าไม้/ประมง มูลค่า 400 ล้าน USD ทั้งนี้ สินค้าส่งออกที่สำคัญ มีดังนี้ (1) น้ำมันปาล์ม 1.84 พันล้าน USD (-23.35% mom/-23.54% yoy) (2) ถ่านหิน 2.20 พันล้าน USD (-2.19% mom/ -47.04% yoy) และ (3) เหล็กและเหล็กเหล้า 2.32 พันล้าน USD (+3.51% mom / +8.82% yoy)

1.3 ประเทศคู่ค้าสำคัญที่อินโดนีเซีย ส่งออกสินค้า non-oil and gas มากที่สุดในเดือน ก.ย. 66 จำนวน 3 อันดับแรก ได้แก่ จีน (5.17 พันล้าน USD) สหรัฐฯ (1.83 พันล้าน USD) และอินเดีย (1.5 พันล้าน USD) และส่งออกสินค้าไปไทยประมาณ 410 ล้าน USD ทั้งนี้ มูลค่าการส่งออกไปยัง ประเทศสมาชิก ASEAN รวม 3.48 พันล้าน USD

1.4 การส่งออกของอินโดนีเซีย ระหว่างเดือน ม.ค. - ก.ย. 66 มีมูลค่ารวม 192.27 พันล้าน USD (-12.34% yoy) แบ่งเป็น

  1. สินค้า non-oil and gas มูลค่า 180.48 พันล้าน USD (-12.89% yoy)
  2. สินค้า oil and gas มูลค่า 11.79 พันล้าน USD (-2.98% yoy)

2. การนำเข้า

2.1 มีมูลค่า 17.34 พันล้าน USD (-8.15% mom/ -12.45% yoy) โดยแบ่งออกเป็น

  1. สินค้า non-oil and gas มีมูลค่า 14.01 พันล้าน (-13.6% mom / -14.46% yoy) โดยในจำนวนนี้ แบ่งออกเป็นการนำเข้าสินค้าหลัก 3 กลุ่ม คือ สินค้าประเภทวัตถุดิบและส่วนประกอบ 12.69 พันล้าน USD สินค้าทุน (capital goods) 2.98 พันล้าน USD และสินค้าอุปโภค 1.67 พันล้าน USD
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 3.33 พันล้าน USD (+25.04% mom / -2.85% yoy)

2.2 ประเทศคู่ค้าสำคัญที่อินโดนีเซีย นำเข้าสินค้าประเภท non-oil and gas มากที่สุดในเดือน ก.ย. 66 ได้แก่ (1) จีน (4.95 พันล้าน USD) (2) ญี่ปุ่น (1.21 พันล้าน USD) (3) เกาหลีใต้ (780 ล้าน USD) และ (4) ไทย ประมาณ 760 ล้าน USD ทั้งนี้อินโดนีเซีย นำเข้าจาก ประเทศสมาชิก ASEAN รวม 2.38 พันล้าน USD

2.3 การนำเข้าของเดือนอินโดนีเซีย ระหว่างเดือน ม.ค. – ก.ย. 66 มีมูลค่ารวม 164.52 พันล้าน USD (-8.34% yoy) แบ่งเป็น

  1. สินค้า non-oil and gas มูลค่า 138.76 พันล้าน USD (-6.52% yoy)
  2. สินค้า oil and gas มูลค่า 25.76 พันล้าน USD (-17.02% yoy)

3. การได้ดุลการค้า

ในเดือนนี้อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้า 3.41 พันล้าน USD (+0.3% mom / -1.54% yoy)และเป็นการได้ดุลการค้าติดต่อกัน 41 เดือนตั้งแต่เดือน พ.ค. 63 ทำให้ตั้งแต่เดือน ม.ค. - ก.ย. 66อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้ารวม27.75 พันล้าน USD (-12.10% yoy) อย่างไรก็ดี ในเดือนนี้อินโดนีเซีย เสียดุลการค้าให้ไทยประมาณ 341.2 ล้าน USD




สถิติการค้าของอินโดนีเซีย ในห้วงเดือนตุลาคม 2566

1. การส่งออก

1.1 มีมูลค่า 22.15 พันล้าน USD (+6.76% mom/ -10.43% yoy) โดยแบ่งออกเป็น

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 20.78 พันล้าน USD (+7.42% mom /-11.36% yoy)
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 1.37 พันล้าน USD (-2.38% mom /-10.43% yoy)

1.2 มูลค่าการส่งออกจากอุตสาหกรรมสำคัญ (1) อุตสาหกรรมแปรรูป 16.14 พันล้าน USD (2) สินค้า/ผลผลิตจากเหมืองแร่ 4.26 พันล้าน USD และ (3) สินค้าเกษตร/ป่าไม้/ประมง มูลค่าราว 370 ล้าน USD

1.3 ประเทศคู่ค้าสำคัญที่อินโดนีเซีย ส่งออกสินค้า non-oil and gas มากที่สุดในเดือน ต.ค. 66 จำนวน 3 อันดับแรก ได้แก่ จีน (5.78 พันล้าน USD) อินเดีย (1.87 พันล้าน USD) และสหรัฐฯ (1.82 พันล้าน USD) และส่งออกสินค้าไปไทยประมาณ 510 ล้าน USD ทั้งนี้ มูลค่าการส่งออกไปยัง ประเทศสมาชิก ASEAN รวม 3.66 พันล้าน USD

1.4 การส่งออกของอินโดนีเซีย ระหว่างเดือน ม.ค. - ต.ค. 66 มีมูลค่ารวม 214.41 พันล้าน USD (-12.15% yoy) แบ่งเป็น

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มูลค่า 201.25 พันล้าน USD (-12.74% yoy)
  2. สินค้า oil and gas มูลค่า 13.16 พันล้าน USD (-2.06% yoy)

2. การนำเข้า

2.1 มีมูลค่า 18.67 พันล้าน USD (+7.86% mom/ -2.42% yoy) โดยแบ่งออกเป็น

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 15.46 พันล้าน (+10.37% mom / -1.94% yoy) ซึ่งสินค้าที่อินโดนีเซีย นำเข้ามากที่สุดในเดือนนี้คือ เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ 2.9 พันล้าน USD เครื่องจักรอิเล็กทรอนิกส์และส่วนประกอบ 2.22 พันล้าน USD และพลาสติก/สินค้าที่ผลิตจากพลาสติก 850 ล้าน USD
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 3.21 พันล้าน USD (-3.66% mom / -4.86% yoy)

2.2 ประเทศคู่ค้าสำคัญที่อินโดนีเซีย นำเข้าสินค้าประเภท non-oil and gas มากที่สุดในเดือน ต.ค. 66 ได้แก่ (1) จีน (5.35 พันล้าน USD) (2) ญี่ปุ่น (1.56 พันล้าน USD) และ (3) ไทย ประมาณ 840 ล้าน USD ทั้งนี้อินโดนีเซีย นำเข้าจาก ประเทศสมาชิก ASEAN รวม 2.77 พันล้าน USD

2.3 การนำเข้าของเดือนอินโดนีเซีย ระหว่างเดือน ม.ค. – ต.ค. 66 มีมูลค่ารวม 183.19 พันล้าน USD (-7.77% yoy) แบ่งเป็น

  1. สินค้า non-oil and gas มูลค่า 154.22 พันล้าน USD (-6.08% yoy)
  2. สินค้า oil and gas มูลค่า 28.97 พันล้าน USD (-15.81% yoy)

3. การได้ดุลการค้า

ในเดือนนี้อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้า 3.48 พันล้าน USD (+0.07% mom / -2.12% yoy) และเป็นการได้ดุลการค้าติดต่อกัน 42 เดือนตั้งแต่เดือน พ.ค. 63 ทำให้ตั้งแต่เดือน ม.ค. - ต.ค. 66 อินโดนีเซียได้ดุลการค้ารวม 31.22 พันล้าน USD (น้อยกว่าในช่วงเวลาเดียวกันของปี 65 ประมาณ 14.22 พันล้าน USD ) อย่างไรก็ดี ในเดือนนี้ อินโดนีเซียเสียดุลการค้าให้ไทยประมาณ 322.5 ล้าน USD




สถิติการค้าของอินโดนีเซีย ในห้วงเดือนพฤศจิกายน 2566

1. การส่งออก

1.1 มีมูลค่า 22 พันล้าน USD (-0.67% mom/ -8.56% yoy) โดยแบ่งออกเป็น

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 20.72 พันล้าน USD (-0.29% mom /-9.76% yoy)
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 1.28 พันล้าน USD (-6.39% mom /+16.43% yoy)

1.2 มูลค่าการส่งออกจากอุตสาหกรรมสำคัญ (1) อุตสาหกรรมแปรรูป 16.07 พันล้าน USD (2) สินค้า/ผลผลิตจากเหมืองแร่ 4.27 พันล้าน USD และ (3) สินค้าเกษตร/ป่าไม้/ประมง มูลค่าราว 370 ล้าน USD

1.3 ประเทศคู่ค้าสำคัญที่อินโดนีเซีย ส่งออกสินค้า non-oil and gas มากที่สุดในเดือน พ.ย. 66 จำนวน 3 อันดับแรก ได้แก่ จีน (5.4 พันล้าน USD) อินเดีย (2 พันล้าน USD) และสหรัฐฯ (1.94 พันล้าน USD) และส่งออกสินค้าไปไทยประมาณ 460 ล้าน USD ทั้งนี้ มูลค่าการส่งออกไปยัง ประเทศสมาชิก ASEAN รวม 3.77 พันล้าน USD

1.4 การส่งออกของอินโดนีเซีย ระหว่างเดือน ม.ค. - พ.ย. 66 มีมูลค่ารวม 236.41 พันล้าน USD (-11.83% yoy)


2. การนำเข้า

2.1 มีมูลค่า 19.59 พันล้าน USD (+4.89% mom/ +3.29% yoy) โดยแบ่งออกเป็น

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 16.10 พันล้าน (+4.08% mom / -0.37% yoy)
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 3.49 พันล้าน USD (+3.49% mom / +24.41% yoy)

2.2 ประเทศคู่ค้าสำคัญที่อินโดนีเซีย นำเข้าสินค้าประเภท non-oil and gas มากที่สุดในเดือน พ.ย. 66 ได้แก่ (1) จีน (5.7 พันล้าน USD) (2) ญี่ปุ่น (1.28 พันล้าน USD) และ (3) ไทย ประมาณ 810 ล้าน USDทั้งนี้อินโดนีเซีย นำเข้าจาก ประเทศสมาชิก ASEAN รวม 2.65 พันล้าน USD

2.3 การนำเข้าของเดือนอินโดนีเซีย ระหว่างเดือน ม.ค. – พ.ย. 66 มีมูลค่ารวม 202.78 พันล้าน USD (-6.80% yoy) แบ่งเป็น

  1. สินค้า non-oil and gas มูลค่า 170.32 พันล้าน USD (-5.57% yoy)
  2. สินค้า oil and gas มูลค่า 32.46 พันล้าน USD (-12.78% yoy)

3. การได้ดุลการค้า

ดุลการค้า ในเดือนนี้อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้า 2.41 พันล้าน USD และเป็นการได้ดุลการค้าติดต่อกัน 43 เดือนตั้งแต่เดือน พ.ค. 63 ทำให้ตั้งแต่เดือน ม.ค. - พ.ย. 66อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้ารวม33.63 พันล้าน USD (น้อยกว่าในช่วงเวลาเดียวกันของปี 65 ประมาณ 16.91 พันล้าน USD ) อย่างไรก็ดี ในเดือนนี้อินโดนีเซีย เสียดุลการค้าให้ไทยประมาณ 342.9 ล้าน USD




สถิติการค้าของอินโดนีเซีย ในห้วงเดือนธันวาคม 2566

1. การส่งออก

1.1 มีมูลค่า 22.41 พันล้าน USD (+1.89% mom/ -5.76% yoy) โดยแบ่งออกเป็น

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 20.93 พันล้าน USD (+1.06% mom /-6.23% yoy)
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 1.48 พันล้าน USD (+15.28% mom /+1.45% yoy)

1.2 มูลค่าการส่งออกจากอุตสาหกรรมสำคัญ (1) อุตสาหกรรมแปรรูป 15.75 พันล้าน USD (2) สินค้า/ผลผลิตจากเหมืองแร่ 4.83 พันล้าน USD และ (3) สินค้าเกษตร/ป่าไม้/ประมง มูลค่าราว 350 ล้าน USD

1.3 ประเทศคู่ค้าสำคัญที่อินโดนีเซีย ส่งออกสินค้า non-oil and gas มากที่สุดในเดือน ธ.ค. 66 จำนวน 3 อันดับแรก ได้แก่ จีน (5.76 พันล้าน USD) สหรัฐ (2 พันล้าน USD) และอินเดีย (1.83 พันล้าน USD) และส่งออกสินค้าไปไทยประมาณ 370 ล้าน USD ทั้งนี้ มูลค่าการส่งออกไปยัง ประเทศสมาชิก ASEAN รวม 3.37 พันล้าน USD

1.41.4 การส่งออกของอินโดนีเซีย ระหว่างเดือน ม.ค. – ธ.ค. 66 มีมูลค่ารวม 258.82 พันล้าน USD (-11.33% yoy) แบ่งเป็น

  1. สินค้า non-oil and gas มูลค่า 242.90 พันล้าน USD (-11.96% yoy)
  2. สินค้า oil and gas มูลค่า 15.92 พันล้าน USD (-0.47% yoy)

2. การนำเข้า

2.1 มูลค่า 15.92 พันล้าน USD (-0.47% yoy)

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 15.74 พันล้าน (-2.26% mom / -5.57% yoy)
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 3.37 พันล้าน USD (-3.33% mom / +5.35% yoy)

2.2 ประเทศคู่ค้าสำคัญที่อินโดนีเซีย นำเข้าสินค้าประเภท non-oil and gas มากที่สุดในเดือน พ.ย. 66 ได้แก่ (1) จีน (5.7 พันล้าน USD) (2) ญี่ปุ่น (1.28 พันล้าน USD) และ (3) ไทย ประมาณ 810 ล้าน USDทั้งนี้อินโดนีเซีย นำเข้าจาก ประเทศสมาชิก ASEAN รวม 2.65 พันล้าน USD

2.3 การนำเข้าของเดือนอินโดนีเซีย ระหว่างเดือน ม.ค. – ธ.ค. 66 มีมูลค่ารวม 221.89 พันล้าน USD (-6.55% yoy) แบ่งเป็น

  1. สินค้า non-oil and gas มูลค่า 186.06 พันล้าน USD (-5.57% yoy)
  2. สินค้า oil and gas มูลค่า 35.83 พันล้าน USD (-11.35% yoy)

3. การได้ดุลการค้า

ในเดือนนี้อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้า 3.31 พันล้าน USD และเป็นการได้ดุลการค้าติดต่อกัน 44 เดือนตั้งแต่เดือน พ.ค. 63 ทำให้ตั้งแต่เดือน ม.ค. - ธ.ค. 66อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้ารวม 36.93 พันล้าน USD (น้อยกว่าในช่วงเวลาเดียวกันของปี 65 ประมาณ 17.52 พันล้าน USD เนื่องจากไม่ได้รับประโยชน์จาก commodity windfall ดังเช่นในปี 65) อย่างไรก็ดี ในเดือนนี้อินโดนีเซีย เสียดุลการค้าให้ไทยประมาณ 405.6 ล้าน USD




สถิติการค้าของอินโดนีเซีย ในห้วงเดือนมกราคม 2565

1. การส่งออก

1.1 มีมูลค่า 19.16 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 14.29 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 25.31 yoy

1.2 ในมูลค่าการส่งออกทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 18.26 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 14.12 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 26.74 yoy โดยธุรกิจส่งออกที่สำคัญยังคงเป็น processing industry (มูลค่า 15.71 พันล้าน USD หรือร้อยละ 82 ของมูลค่าการส่งออกทั้งเดือนนี้) และสินค้าประเภทแร่ต่าง ๆ (มูลค่า 2.17 พันล้าน USD หรือร้อยละ 11.33 ของมูลค่าการส่งออก)
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 0.9 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 17.59 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.96 yoy

1.3 ประเทศที่อินโดนีเซียส่งออกสินค้า non-oil and gas มากที่สุดในเดือนมกราคม 2565 ได้แก่ จีน (3.51 พันล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 19.25 ของการส่งออกทั้งหมด) สหรัฐอเมริกา (2.56 พันล้าน USD) และ ญี่ปุ่น (1.51 พันล้าน USD)

อนึ่ง ในเดือน ม.ค. 65 อินโดนีเซียส่งสินค้าออกไปยังไทยเป็นมูลค่า 0.50 พันล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 2.76 ของมูลค่าส่งออกทั้งเดือน (อันดับที่ 8)

2. การนำเข้า

2.1 มีมูลค่า 18.23 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 14.62 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 36.77 yoy

2.2 ในมูลค่าการนำเข้าทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้า non-oil and gas มีมูลค่า16 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 10.97 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 35.66 yoy โดยมีสินค้านำเข้าที่สำคัญ คือ วัตถุดิบในการผลิต (13.85 พันล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 75.97 ของมูลค่าการนำเข้าทั้งเดือนนี้) สินค้าทุน (2.8 พันล้าน USD) และสินค้าอุปโภคบริโภค (1.58 พันล้าน USD)
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 2.23 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 34 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 43.66 yoy

2.3 ประเทศที่อินโดนีเซียนำเข้าสินค้าประเภท non-oil and gas มากที่สุดในเดือนมกราคม 2565 จำนวน 5 อันดับแรก ได้แก่ (1) จีน (5.85 พันล้าน USD หรือร้อยละ 36.55 ของมูลค่านำเข้าทั้งเดือน) (2) ญี่ปุ่น (1.39 พันล้าน USD) (3) ไทย (0.93 พันล้าน USD หรือร้อยละ 4.58 ของมูลค่านำเข้าทั้งเดือน) (4) เกาหลีใต้ (0.91 พันล้าน USD) และ (5) สิงคโปร์ (0.73 พันล้าน USD)

3. การได้ดุลการค้า

ในเดือนนี้ อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้า 0.93 พันล้าน USD


ที่มา : https://www.bps.go.id/pressrelease/2022/02/15/1918/ekspor-januari-2022-mencapai-us-19-16-miliar-dan-impor-januari-2022-senilai-us-18-23-miliar.html


ข่าวที่น่าสนใจอื่น ๆ

  • รัฐบาลอินโดนีเซียคาดว่า เศรษฐกิจของอินโดนีเซียจะขยายตัวร้อยละ 5.2 ในปี 2565 และขยายตัวประมาณร้อยละ 5.3 – 5.9 ในปี 2566 โดยอินโดนีเซียจะต้องทำให้การขาดดุลงบประมาณไม่เกินร้อยละ 3 ในปี 2566 โดยกระทรวงการคลังคาดว่าเศรษฐกิจในปี 65 จะสามารถเติบโตได้ด้วยการใช้จ่ายจากภาคครัวเรือนและการลงทุน (FDI + DDI) ในขณะที่รายได้จากการส่งออกจะลดลงเนื่องจากสภาวะ เศรษฐกิจ โลกที่ฟื้นตัวอย่างต่อเนื่อง และอุปสงค์-อุปทานที่สมดุลมากขึ้น ทั้งนี้ ภาคส่วนที่น่าจะมีส่วนสนับสนุนการเติบโตของเศรษฐกิจระหว่าง/หลังยุค COVID-19 ได้แก่ อุตสาหกรรมด้านสุขภาพ อุตสาหกรรมปลายน้ำ (การผลิตอุปกรณ์และชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์สื่อสาร การแปรรูปเคมี/แร่) โดยการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจคาร์บอนต่ำและการเปลี่ยนผ่านทางพลังงานจะเป็นปัจจัยสำคัญที่เกื้อหนุนการพัฒนาประเทศ
  • กระทรวงการคลังอินโดนีเซียตั้งเป้าหมายอัตราส่วนภาษีต่อ GDP ในปี 2565 ไว้ที่ร้อยละ 9.3–9.5 และจะเพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) จากเดิมร้อยละ 10 เป็นร้อยละ 11 ในวันที่ 1 เมษายน 2565 และมีแผนจะเพิ่ม VAT เป็นร้อยละ 12 ภายในปี ค.ศ. 2025



สถิติการค้าของอินโดนีเซีย ในห้วงเดือนกุมภาพันธ์ 2565

1. การส่งออก

1.1 มีมูลค่า 20.46 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.73 mom และร้อยละ 34.14 yoy

1.2 ในมูลค่าการส่งออกทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 19.47 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.55 mom และร้อยละ 35.24 yoy โดยธุรกิจส่งออกที่สำคัญ ยังคงเป็น processing industry (ร้อยละ 75.88 ของมูลค่าการส่งออกทั้งเดือนนี้) และสินค้าประเภท แร่ต่าง ๆ
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 0.99 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.39 mom และร้อยละ 15.6 yoy

1.3 ประเทศที่อินโดนีเซียส่งออกสินค้า non-oil and gas มากที่สุดในเดือนกุมภาพันธ์ 2565 ได้แก่ จีน (3.72 พันล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 19.12 ของการส่งออกทั้งหมด) สหรัฐอเมริกา (2.39 พันล้าน USD) และ ญี่ปุ่น (1.71 พันล้าน USD)

อนึ่ง ในเดือน ก.พ. 65 อินโดนีเซียส่งสินค้าออกไปยังไทยเป็นมูลค่า 0.49 พันล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 2.53 ของมูลค่าส่งออกทั้งเดือน (อันดับที่ 9)

2. การนำเข้า

2.1 มีมูลค่า 16.64 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 8.6 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 25.43 yoy

2.2 ในมูลค่าการนำเข้าทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้า non-oil and gas มีมูลค่า 13.74 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 14.05 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 14.84 yoy โดยมีสินค้านำเข้าที่สำคัญ คือ วัตถุดิบในการผลิต (คิดเป็นร้อยละ 77.12 ของมูลค่า การนำเข้าทั้งเดือนนี้) สินค้าทุน และสินค้าอุปโภคบริโภค
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 2.90 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 34 mom และร้อยละ 122.52 yoy

2.3 ประเทศที่อินโดนีเซียนำเข้าสินค้าประเภท non-oil and gas มากที่สุดในเดือนกุมภาพันธ์ 2565 จำนวน 5 อันดับแรก ได้แก่ (1) จีน (4.63 พันล้าน USD หรือร้อยละ 33.73 ของมูลค่านำเข้าทั้งเดือน) (2) ญี่ปุ่น (1.15 พันล้าน USD) (3) ไทย (1.03 พันล้าน USD หรือร้อยละ 7.51 ของมูลค่านำเข้าทั้งเดือน) (4) เกาหลีใต้ (0.69 พันล้าน USD) และ (5) สิงคโปร์ (0.65 พันล้าน USD)

3. การได้ดุลการค้า

ในเดือนนี้ อินโดนีเซียได้ดุลการค้า 3.83 พันล้าน USD


ที่มา : https://www.bps.go.id/pressrelease/2022/03/15/1919/ekspor-februari-2022-mencapai-us-20-46-miliar-miliar--naik-6-73-persen-dibanding-januari-2022-dan-impor-februari-2022-senilai-us-16-64-miliar--turun-8-64-persen-dibanding-januari-2022.html




สถิติการค้าของอินโดนีเซีย ในห้วงเดือนมีนาคม 2565

1. การส่งออก

1.1 มีมูลค่า 26.5 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 29.42 mom และร้อยละ 44.36 yoy

1.2 ในมูลค่าการส่งออกทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 25.09 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 28.82 mom และร้อยละ 43.82 yoy โดยธุรกิจส่งออกที่สำคัญยังคงเป็น processing industry และสินค้าประเภทแร่ต่าง ๆ
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 1.41 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 41.24 mom และร้อยละ 54.75 yoy

1.3 ประเทศที่อินโดนีเซีย ส่งออกสินค้า non-oil and gas มากที่สุดในเดือน มี.ค. 65 จำนวน 5 อันดับแรก ได้แก่ จีน (5.48 พันล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 21.84 ของการส่งออกทั้งหมด) สหรัฐอเมริกา (2.83 พันล้าน USD) อินเดีย (2.06 พันล้าน USD) ญี่ปุ่น (1.85 พันล้าน USD) และมาเลเซีย (1.34 พันล้าน USD)

อนึ่ง ในเดือน มี.ค. 65 อินโดนีเซียส่งสินค้าออกไปยังไทยเป็นมูลค่า 0.63 พันล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 2.52 ของมูลค่าส่งออกทั้งเดือน


2. การนำเข้า

2.1 มีมูลค่า 21.97 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 32.02 mom และร้อยละ 30.85 yoy

2.2 ในมูลค่าการนำเข้าทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 18.48 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 34.5 mom และ ร้อยละ 27.34 yoy โดยมีสินค้านำเข้าที่สำคัญ คือ วัตถุดิบในการผลิต สินค้าทุน และสินค้าอุปโภคบริโภค
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 3.49 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 20.33 mom และร้อยละ 53.22 yoy

2.3 ประเทศที่อินโดนีเซีย นำเข้าสินค้าประเภท non-oil and gas มากที่สุดในเดือน มี.ค. 65 จำนวน 5 อันดับแรก ได้แก่

  1. จีน (5.31 พันล้าน USD หรือร้อยละ 28.73 ของมูลค่านำเข้าทั้งเดือน)
  2. ญี่ปุ่น (1.7 พันล้าน USD)
  3. ไทย (1.2 พันล้าน USD หรือร้อยละ 6.49 ของมูลค่านำเข้าทั้งเดือน)
  4. เกาหลีใต้ (0.96 พันล้าน USD)
  5. สิงคโปร์ (0.88 พันล้าน USD)

2.4 การนำเข้าของอินโดนีเซียระหว่างเดือน ม.ค. – มี.ค. 65 มีมูลค่ารวม 56.82 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 30.97 yoy โดยสินค้า non-oil and gas มีมูลค่า 48.19 พันล้าน USD


3. การได้ดุลการค้า

ในเดือนนี้ อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้า 4.53 พันล้าน USD (แต่เสียดุลการค้าให้ไทยประมาณ 565.6 ล้าน USD)


ที่มา : https://www.bps.go.id/pressrelease/2022/04/18/1920/ekspor-maret-2022-mencapai-us-26-50-miliar---impor-maret-2022-senilai-us-21-97-miliar.html




สถิติการค้าของอินโดนีเซีย ในห้วงเดือนเมษายน 2565

1. การส่งออก

1.1 มีมูลค่า 27.32 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.11 mom และร้อยละ 47.76 yoy

1.2 ในมูลค่าการส่งออกทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 25.89 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.17 mom และร้อยละ 47.7 yoy โดยธุรกิจส่งออกที่สำคัญยังคงเป็นอุตสาหกรรมแปรรูป (processing industry) และสินค้าประเภท แร่ต่าง ๆ
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 1.43พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.01 mom และร้อยละ 48.93 yoy

1.3 ประเทศที่อินโดนีเซีย ส่งออกสินค้า non-oil and gas มากที่สุดในเดือน เม.ย. 65 จำนวน 5 อันดับแรก ได้แก่ จีน (5.49 พันล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 21.21 ของการส่งออกทั้งหมด) สหรัฐอเมริกา (2.46 พันล้าน USD) ญี่ปุ่น (2.24 พันล้าน USD) อินเดีย (2.11 พันล้าน USD) และมาเลเซีย (1.34 พันล้าน USD)

อนึ่ง ในเดือน มี.ค. 65 อินโดนีเซียส่งสินค้าออกไปยังไทยเป็นมูลค่า 0.62 พันล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 2.4 ของมูลค่าส่งออกทั้งเดือน

1.4 การส่งออกของอินโดนีเซียระหว่างเดือน ม.ค. - เม.ย. 65 มีมูลค่ารวม 93.47 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 38.68 yoy โดยสินค้า non-oil and gas มีมูลค่า 88.73 พันล้าน USD (สินค้าสำคัญคือ เชื้อเพลิงจากแร่ (Mineral Fuel/ถ่านหิน ฯลฯ) มูลค่า 14.14 พันล้าน USD และน้ำมันจากพืช/สัตว์ (Animal/Vegetable Oil ซึ่งรวมถึงน้ำมันปาล์ม) มูลค่า 10.91 พันล้าน USD) ทั้งนี้ สินค้าส่งออกส่วนใหญ่มาจาก/ผลิตจากจาก จ. ชวาตะวันตก (ร้อยละ 13.94) จ. กาลิมันตันตะวันออก (ร้อยละ 10.18) และ จ. ชวาตะวันออก (ร้อยละ 9.77)


2. การนำเข้า

2.1 มีมูลค่า 19.76 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 10.01 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 21.97 yoy

2.2 ในมูลค่าการนำเข้าทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 15.95 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 13.65 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.47 yoy โดยมีสินค้านำเข้าที่สำคัญ คือ วัตถุดิบในการผลิต สินค้าทุน และสินค้าอุปโภคบริโภค
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 3.81 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.21 mom และร้อยละ 88.48 yoy

2.3 ประเทศ ที่ อินโดนีเซีย นำเข้าสินค้าประเภท non-oil and gas มากที่สุดในเดือน เม.ย. 65 จำนวน 5 อันดับแรก ได้แก่

  1. จีน (5.11 พันล้าน USD หรือร้อยละ 27.65 ของมูลค่านำเข้าทั้งเดือน)
  2. ญี่ปุ่น (1.38 พันล้าน USD)
  3. เกาหลีใต้ (0.87 พันล้าน USD)
  4. ไทย (0.84 พันล้าน USD หรือร้อยละ 4.55 ของมูลค่านำเข้าทั้งเดือน)
  5. สหรัฐฯ (0.83 พันล้าน USD)

2.4 การนำเข้าของเดือนอินโดนีเซีย ระหว่างเดือน ม.ค. – เม.ย. 65 มีมูลค่ารวม 76.58 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 28.51 yoy โดยสินค้า non-oil and gas มีมูลค่า 64.14 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 22.34


3. การได้ดุลการค้า

ในเดือนนี้ อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้า 7.56 พันล้าน USD (แต่เสียดุลการค้าให้ไทยประมาณ 217.9 ล้าน USD)



ที่มา : https://www.bps.go.id/pressrelease/2022/05/17/1921/ekspor-april-2022-mencapai-us-27-32-miliar--naik-3-11-persen-dibanding-maret-2022---impor-april-2022-senilai-us-19-76-miliar--turun-10-01-persen-dibanding-maret-2022.html




สถิติการค้าของอินโดนีเซีย ในห้วงเดือนพฤษภาคม 2565

1. การส่งออก

1.1 มีมูลค่า 21.51 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 21.29 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 27 yoy

1.2 ในมูลค่าการส่งออกทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 20.01 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 22.71 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 25.34 yoy โดยสินค้าส่งออกที่สำคัญคือนิกเกิลแปรรูปและสินค้าที่ผลิตจากแร่นิกเกิล และธุรกิจส่งออกที่สำคัญยังคงเป็นอุตสาหกรรมแปรรูป (processing industry หรือ manufacturing industry) สินค้าประเภทแร่ต่าง ๆ รวมถึงสินค้าเกษตรและป่าไม้ แม้มูลค่าการส่งออกของอุตสาหกรรมเหล่านี้จะลดลงจากเดือน เม.ย. 65 ร้อยละ 25.93 12.92 และ 25.92 ตามลำดับก็ตาม ซึ่งแสดงให้เห็นว่าภาคการส่งออกของอุตสาหกรรมหลักของ อินโดนีเซีย กำลังชะลอตัว
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 1.5 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.38 mom และร้อยละ 54.49 yoy ตามลำดับ

1.3 ประเทศ ที่ อินโดนีเซีย ส่งออกสินค้า non-oil and gas มากที่สุดในเดือน พ.ค. 65 จำนวน 5 อันดับแรก ได้แก่ จีน (4.59 พันล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 22.95 ของการส่งออกทั้งหมด) อินเดีย (2.26 พันล้าน USD) สหรัฐฯ (2.05 พันล้าน USD) ญี่ปุ่น (1.63 พันล้าน USD) และ มาเลเซีย (1.04 พันล้าน USD)

อนึ่ง ในเดือน มี.ค. 65 อินโดนีเซียส่งสินค้าออกไปยังไทยเป็นมูลค่า 0.59 พันล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 2.97 ของมูลค่าส่งออกทั้งเดือน

1.4 การส่งออกของอินโดนีเซีย ระหว่างเดือน ม.ค. - พ.ค. 65 มีมูลค่ารวม 114.97 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 36.34 yoy โดยสินค้า non-oil and gas มีมูลค่า 108.74 พันล้าน USD (สินค้าสำคัญคือ เชื้อเพลิงจากแร่ (Mineral Fuel/ถ่านหิน ฯลฯ) มูลค่า 19 พันล้าน USD และน้ำมันจากพืช/สัตว์ (Animal/Vegetable Oil ซึ่งรวมถึงน้ำมันปาล์ม) มูลค่า 12.25 พันล้าน USD) ทั้งนี้ สินค้าส่งออกส่วนใหญ่มาจาก/ผลิตจากจาก จ. ชวาตะวันตก จ. กาลิมันตันตะวันออก และ จ. ชวาตะวันออก


2. การนำเข้า

2.1 มีมูลค่า 18.61 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 5.81 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 30.47 yoy

2.2 ในมูลค่าการนำเข้าทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 15.26 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 4.31 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 25.33 yoy โดยมีสินค้านำเข้าที่สำคัญ คือ วัตถุดิบในการผลิต (raw/supporting materials) สินค้าทุน (capital goods) และสินค้าอุปโภคบริโภค (consumer goods) อย่างไรก็ดี เป็นที่น่าสังเกตว่า การนำเข้าวัตถุดิบในการผลิตเดือนนี้ลดลงร้อยละ 5.62 ซึ่งเมื่อประกอบกับมูลค่าการนำเข้าเครื่องจักรและอุปกรณ์/อะไหล่เครื่องจักรที่ลดลง 254.9 ล้าน USD (ประมาณร้อยละ 11.16 mom) ก็น่าจะส่งผลต่อดัชนี Manufacturing Purchasing Managers’ Index (PMI) ของอินโดนีเซีย ในเดือน มิ.ย. 65 ที่จะกระทบต่อการประเมิน ความเชื่อมั่นในการสั่งซื้อสินค้า/บริการ และการขยายตัวทาง ศก. เนื่องจากการหดตัวของภาคการผลิต อินโดนีเซีย
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 3.35 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 12.07 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 62.64 yoy

2.3 ประเทศที่อินโดนีเซีย นำเข้าสินค้าประเภท non-oil and gas มากที่สุดในเดือน พ.ค. 65 จำนวน 5 อันดับแรก ได้แก่

  1. จีน (5.07 พันล้าน USD หรือร้อยละ 33.25 ของมูลค่านำเข้าทั้งเดือน)
  2. ญี่ปุ่น (1.26พันล้าน USD)
  3. ไทย (0.93 พันล้าน USD หรือร้อยละ 6.07 ของมูลค่านำเข้าทั้งเดือน) ซึ่งเพิ่มขึ้นจากเดือน เม.ย. 65 ที่อินโดนีเซียนำเข้าจากไทย 0.84 พันล้าน USD
  4. ออสเตรเลีย (0.8 พันล้าน USD)
  5. สหรัฐฯ (0.79 พันล้าน USD)

2.4 การนำเข้าของอินโดนีเซียระหว่างเดือน ม.ค. – เม.ย. 65 มีมูลค่ารวม 95.18 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 28.93 yoy โดยสินค้า non-oil and gas มีมูลค่า 79.39 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 22.89


3. การได้ดุลการค้า

3.1 ในเดือนนี้อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้าเพียง 2.89 พันล้าน USD ซึ่งเป็นตัวเลขที่ต่ำกว่าที่นักเศรษฐศาสตร์หลายสำนักเคยคาดการณ์ว่า อินโดนีเซีย น่าจะได้ดุลการค้าประมาณ 5 พันล้าน USD (ดุลการค้าเดือน เม.ย. 65 อยู่ที่ 7.56 พันล้าน USD ซึ่งเป็นดุลการค้าสูงสุดที่สำนักงานสถิติ อินโดนีเซีย เคยบันทึกมา) และเป็นการได้ดุลการค้าติดต่อกัน 25 เดือน อย่างไรก็ดี ในเดือนนี้ อินโดนีเซีย เสียดุลการค้าให้ไทยประมาณ 331.9 ล้าน USD

3.2 ตั้งแต่เดือน ม.ค. - พ.ค. 65 อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้ารวม 19.79 พันล้าน USD



ที่มา : 1. https://www.bps.go.id/pressrelease/2022/06/15/1922/ekspor-mei-2022-mencapai-us-21-51-miliar--turun-21-29-persen-dibanding-april-2022---impor-mei-2022-senilai-us-18-61-miliar--turun-5-81-persen-dibanding-april-2022.html




สถิติการค้าของอินโดนีเซีย ในห้วงเดือนมิถุนายน 2565

1. การส่งออก

1.1 มีมูลค่า 26.09 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 21.3 mom และร้อยละ 40.68 yoy

1.2 ในมูลค่าการส่งออกทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 24.56 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 22.71 mom และร้อยละ 41.89 yoy โดยธุรกิจส่งออกที่สำคัญยังคงเป็นอุตสาหกรรมแปรรูป (processing industry หรือ manufacturing industry) สินค้าประเภทถ่านหินและแร่ต่าง ๆ รวมถึงสินค้าเกษตร (อาทิ น้ำมันปาล์ม) และป่าไม้
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 1.53 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.45 mom และร้อยละ 23.68 yoy ตามลำดับ

1.3 ประเทศที่อินโดนีเซีย ส่งออกสินค้า non-oil and gas มากที่สุดในเดือน มิ.ย. 65 จำนวน 5 อันดับแรก ได้แก่ จีน (5.09 พันล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 20.74 ของการส่งออกทั้งหมด) อินเดีย (2.53 พันล้าน USD) สหรัฐฯ (2.46 พันล้าน USD) ญี่ปุ่น (1.89 พันล้าน USD) และ มาเลเซีย (1.29 พันล้าน USD)

อนึ่ง ในเดือน มิ.ย. 65 อินโดนีเซีย ส่งสินค้าออกไปยังไทยเป็นมูลค่า 0.68 พันล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 2.76 ของมูลค่าส่งออกทั้งเดือน

1.4 การส่งออกของ อินโดนีเซีย ระหว่างเดือน ม.ค. - มิ.ย. 65 มีมูลค่ารวม 141.07 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 37.11 yoy โดยสินค้า non-oil and gas มีมูลค่า 133.31 พันล้าน USD (สินค้าสำคัญคือ เชื้อเพลิงจากแร่ (Mineral Fuel/ถ่านหิน ฯลฯ) มูลค่า 24.11 พันล้าน USD และน้ำมันจากพืช/สัตว์ (Animal/Vegetable Oil ซึ่งรวมถึงน้ำมันปาล์มดิบ (CPO) มูลค่า 15.14 พันล้าน USD) ทั้งนี้ สินค้าส่งออกส่วนใหญ่มาจาก/ผลิตจากจาก จ. ชวาตะวันตก


2. การนำเข้า

2.1 มีมูลค่า 21 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.87 mom และร้อยละ 21.98 yoy

2.2 ในมูลค่าการนำเข้าทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 17.33 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.6 mom และ ร้อยละ 16.15 yoy โดยมีสินค้านำเข้าที่สำคัญ คือ วัตถุดิบในการผลิต (raw/supporting materials) สินค้าทุน (capital goods) และสินค้าอุปโภคบริโภค (consumer goods)
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 3.67 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.52 mom และร้อยละ 59.84 yoy ตามลำดับ

2.3 ประเทศที่อินโดนีเซีย นำเข้าสินค้าประเภท non-oil and gas มากที่สุดในเดือน มิ.ย. 65 จำนวน 5 อันดับแรก ได้แก่

  1. จีน (6.11พันล้าน USD หรือร้อยละ 35.25 ของมูลค่านำเข้าทั้งเดือน)
  2. ญี่ปุ่น (1.46 พันล้าน USD)
  3. ไทย (0.90 พันล้าน USD หรือร้อยละ 6.07 ของมูลค่านำเข้าทั้งเดือน) ซึ่งลดลงจากเดือน พ.ค. 65 ที่ อินโดนีเซีย นำเข้าจากไทย 0.93 พันล้าน USD
  4. เกาหลีใต้ (0.84 พันล้าน USD)
  5. ออสเตรเลีย (0.8 พันล้าน USD)

2.4 การนำเข้าของเดือนอินโดนีเซียระหว่างเดือน ม.ค. – มิ.ย. 65 มีมูลค่ารวม 116.18 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 27.62 yoy โดยสินค้า non-oil and gas มีมูลค่า 96.72 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 21.62 โดยการนำเข้าส่วนใหญ่ในห้วงนี้คือเครื่องจักรกล เครื่องมือและส่วนประกอบ และเครื่องจักรกลอิเล็กทรอนิกส์และส่วนประกอบ ซึ่งเป็นผลจากนโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรมปลายน้ำของ รบ. อินโดนีเซีย และภาคการผลิต อินโดนีเซีย กลับมา active หลัง COVID-19


3. การได้ดุลการค้า

3.1 ในเดือนนี้ อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้า 5.09 พันล้าน USD ซึ่งเป็นตัวเลขที่ตรงกับที่ นักเศรษฐศาสตร์หลายสำนักเคยคาดการณ์ไว้ (เป็นการได้ดุลการค้าจากสินค้า non-oil and gas 7.23 พันล้าน USD แต่ขาดดุลการค้าจากสินค้า oil and gas 2.14 พันล้าน USD) และเป็นการได้ดุลการค้าติดต่อกัน 26 เดือน อย่างไรก็ดี ในเดือนนี้ อินโดนีเซีย เสียดุลการค้าให้ไทยประมาณ 220 ล้าน USD

3.2 ตั้งแต่เดือน ม.ค. - มิ.ย. 65 อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้ารวม 24.89 พันล้าน USD ซึ่งเป็นดุลการค้าที่มากที่สุดเท่าที่เคยมีการบันทึกไว้เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีอื่น ๆ โดยน่าจะมีสาเหตุมาจากราคาสินค้าส่งออกหลักของ อินโดนีเซีย (ถ่านหิน น้ำมันปาล์ม นิกเกิล ฯลฯ) ที่เพิ่มสูงขึ้นจากสถานการณ์โลกตั้งแต่ต้นปี 65 อย่างไรก็ดี หลายฝ่ายเห็นว่า อินโดนีเซีย จะต้องเร่งพัฒนาอุตสาหกรรมปลายน้ำให้สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มตามที่ตั้งไว้ได้มากขึ้น โดยลดการพึ่งพิงการได้ดุลการค้าจากสถานการณ์พลังงานโลกซึ่งไม่มีความยั่งยืน



ที่มา : https://www.bps.go.id/pressrelease/2022/07/15/1923/ekspor-juni-2022-mencapai-us-26-09-miliar--naik-21-30-persen-dibanding-mei-2022---impor-juni-2022-senilai-us-21-00-miliar--naik-12-87-persen-dibanding-mei-2022.html




สถิติการค้าของอินโดนีเซีย ในห้วงเดือนกรกฏาคม 2565

1. การส่งออก

1.1 มีมูลค่า 25.57 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 2.2 mom แต่ขยายตัวร้อยละ 32.03 yoy

1.2 ในมูลค่าการส่งออกทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 24.2 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 1.64 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 31.58 yoy โดยธุรกิจส่งออกที่สำคัญยังคงเป็นอุตสาหกรรมแปรรูป (processing industry หรือ manufacturing industry) สินค้าประเภทถ่านหินและแร่ต่าง ๆ รวมถึงสินค้าเกษตร (อาทิ น้ำมันปาล์ม) ประมง และป่าไม้
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 1.38 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 11.24 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 40.48 yoy

1.3 ประเทศ ที่ อินโดนีเซีย ส่งออกสินค้า non-oil and gas มากที่สุดในเดือน ก.ค. 65 จำนวน 5 อันดับแรก ได้แก่ จีน (5.03 พันล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 20.77 ของการส่งออกทั้งหมด) สหรัฐฯ (2.51 พันล้าน USD) อินเดีย (2.26 พันล้าน USD) ญี่ปุ่น (2.14 พันล้าน USD) และ มาเลเซีย (1.24 พันล้าน USD)

อนึ่ง ในเดือน ก.ค. 65 อินโดนีเซีย ส่งสินค้าออกไปยังไทยเป็นมูลค่า 0.63 พันล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 2.61 ของมูลค่าส่งออกทั้งเดือน

1.4 การส่งออกของอินโดนีเซีย ระหว่างเดือน ม.ค. - ก.ค. 65 มีมูลค่ารวม 166.7 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 36.36 yoy โดยสินค้า non-oil and gas มีมูลค่า 157.55 พันล้าน USD (สินค้าสำคัญคือ เชื้อเพลิงจากแร่ (Mineral Fuel/ถ่านหิน ฯลฯ) มูลค่า 29.67 พันล้าน USD และน้ำมันจากพืช/สัตว์ (Animal/Vegetable Oil ซึ่งรวมถึงน้ำมันปาล์มดิบ (CPO) มูลค่า 18.7 พันล้าน USD) ทั้งนี้ สินค้าส่งออกส่วนใหญ่มาจาก/ผลิตจากจาก จ. ชวาตะวันตก จ. กาลิมันตันตะวันออก และ จ. ชวาตะวันออก


2. การนำเข้า

2.1 มีมูลค่า 21.35 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.64 mom และร้อยละ 39.86 yoy

2.2 ในมูลค่าการนำเข้าทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 16.89 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 2.53 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 25.41 yoy โดยมีสินค้านำเข้าที่สำคัญ คือ วัตถุดิบในการผลิต (raw/supporting materials) สินค้าทุน (capital goods) และสินค้าอุปโภคบริโภค (consumer goods)
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 4.46 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 21.3 mom และร้อยละ 148.38 yoy ตามลำดับ

2.3 ประเทศ ที่ อินโดนีเซีย นำเข้าสินค้าประเภท non-oil and gas มากที่สุดในเดือน ก.ค. 65 จำนวน 5 อันดับแรก ได้แก่

  1. จีน (5.94 พันล้าน USD หรือร้อยละ 35.25 ของมูลค่านำเข้าทั้งเดือน)
  2. ญี่ปุ่น (1.50 พันล้าน USD)
  3. ไทย (0.95 พันล้าน USD หรือร้อยละ 5.62 ของมูลค่านำเข้าทั้งเดือน) ซึ่งเพิ่มขึ้นจากเดือน มิ.ค. 65 ที่ อินโดนีเซีย นำเข้าจากไทย 0.90 พันล้าน USD
  4. สิงคโปร์ (0.87 พันล้าน USD)
  5. สหรัฐฯ (0.86 พันล้าน USD)

2.4 การนำเข้าของเดือน อินโดนีเซีย ระหว่างเดือน ม.ค. – ก.ค. 65 มีมูลค่ารวม 137.53 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 29.38 yoy โดยสินค้า non-oil and gas มีมูลค่า 113.61 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 22.17 โดยการนำเข้าส่วนใหญ่ในห้วงนี้คือเครื่องจักรกล เครื่องมือและส่วนประกอบ และเครื่องจักรกลอิเล็กทรอนิกส์และส่วนประกอบ และสินค้าประเภทวัตถุดิบ สินค้าทุน และสินค้าอุปโภคบริโภค ซึ่งเป็นผลจากนโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรมปลายน้ำของ รบ. อินโดนีเซีย และภาคการผลิต อินโดนีเซีย กลับมา active หลัง COVID-19 รวมทั้งภาคครัวเรือนที่จับจ่ายใช้สอยมากขึ้นจากการเติบโตของ ศก. ภายใน ประเทศ


3. การได้ดุลการค้า

3.1 ในเดือนนี้ อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้า 4.23 พันล้าน USD (เป็นการได้ดุลการค้าจากสินค้า non-oil and gas 7.31 พันล้าน USD แต่ขาดดุลการค้าจากสินค้า oil and gas 3.08 พันล้าน USD) และเป็นการได้ดุลการค้าติดต่อกัน 27 เดือน อย่างไรก็ดี ในเดือนนี้ อินโดนีเซีย เสียดุลการค้าให้ไทยประมาณ 318.6 ล้าน USD

3.2 ตั้งแต่เดือน ม.ค. - ก.ค. 65 อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้ารวม 29.17 พันล้าน USD



ที่มา : https://www.bps.go.id/pressrelease/2022/08/15/1924/ekspor-juli-2022-mencapai-us-25-57-miliar--turun-2-20-persen-dibanding-juni-2022-dan-impor-juli-2022-senilai-us-21-35-miliar--naik-1-64-persen-dibanding-juni-2022.html




สถิติการค้าของอินโดนีเซีย ในห้วงเดือนสิงหาคม 2565

1. การส่งออก

1.1 มีมูลค่า 27.91 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.17 mom และร้อยละ 30.15 yoy

1.2 ในมูลค่าการส่งออกทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 26.19 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.24 mom และร้อยละ 28.39 yoy โดยธุรกิจส่งออกที่สำคัญยังคงเป็นอุตสาหกรรมแปรรูป สินค้าประเภทถ่านหินและแร่ต่าง ๆ รวมถึงสินค้าเกษตรจากเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมป่าไม้
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 1.71 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 25.59 mom และร้อยละ 64.46 yoy ตามลำดับ

1.3 ประเทศที่อินโดนีเซียส่งออกสินค้า non-oil and gas มากที่สุดในเดือน ส.ค. 65 จำนวน 5 อันดับแรก ได้แก่ จีน (6.16 พันล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 23.53 ของการส่งออกทั้งหมด) สหรัฐฯ (2.5

อนึ่ง ในเดือน ส.ค. 65 อินโดนีเซีย ส่งสินค้าออกไปยังไทยเป็นมูลค่า 0.61 พันล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 2.35 ของมูลค่าส่งออกทั้งเดือน

1.4 การส่งออกของ อินโดนีเซีย ระหว่างเดือน ม.ค. - ส.ค. 65 มีมูลค่ารวม 194.60 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 35.42 yoy โดยสินค้า non-oil and gas มีมูลค่า 183.73 พันล้าน USD (สินค้าสำคัญคือ เชื้อเพลิงจากแร่ (Mineral Fuel/ถ่านหิน ฯลฯ) มูลค่า 34.82 พันล้าน USD และน้ำมันจากพืช/สัตว์ (Animal/Vegetable Oil ซึ่งรวมถึงน้ำมันปาล์มดิบ (CPO) มูลค่า 23.17 พันล้าน USD)


2. การนำเข้า

2.1 มีมูลค่า 22.15 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.77 mom และร้อยละ 32.81 yoy

2.2 ในมูลค่าการนำเข้าทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 18.45 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.23 mom และ ร้อยละ 26.11 yoy โดยมีสินค้านำเข้าที่สำคัญ คือ วัตถุดิบในการผลิต (raw/supporting materials) สินค้าทุน (capital goods) และสินค้าอุปโภคบริโภค (consumer goods)
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 3.70 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.92 mom และ ร้อยละ 80.63 yoy ตามลำดับ

2.3 ประเทศ ที่ อินโดนีเซีย นำเข้าสินค้าประเภท non-oil and gas มากที่สุดในเดือน ส.ค. 65 จำนวน 5 อันดับแรก ได้แก่

  1. จีน (6.57 พันล้าน USD หรือร้อยละ 35.65 ของมูลค่านำเข้าทั้งเดือน)
  2. ญี่ปุ่น (1.51 พันล้าน USD)
  3. ออสเตรเลีย (0.94 พันล้าน)
  4. สหรัฐฯ (0.93 พันล้าน)
  5. ไทย (0.90 พันล้าน USD หรือร้อยละ 4.9 ของมูลค่านำเข้าทั้งเดือน)

2.4 การนำเข้าของเดือน อินโดนีเซีย ระหว่างเดือน ม.ค. – ส.ค. 65 มีมูลค่ารวม 159.68 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 29.84 yoy โดยสินค้า non-oil and gas มีมูลค่า 132.06 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 22.71


3. การได้ดุลการค้า

3.1 ในเดือนนี้ อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้า 5.76 พันล้าน USD โดยเป็นการได้ดุลการค้าจากสินค้า non-oil and gas 7.74 พันล้าน USD แต่ขาดดุลการค้าจากสินค้า oil and gas 1.98 พันล้าน USD) และเป็นการได้ดุลการค้าติดต่อกัน 28 เดือน อย่างไรก็ดี ในเดือนนี้ อินโดนีเซีย เสียดุลการค้าให้ไทยประมาณ 289.1 ล้าน USD

3.2 ตั้งแต่เดือน ม.ค. - ส.ค. 65 อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้ารวม 34.92 พันล้าน USD



ที่มา : https://www.bps.go.id/pressrelease/2022/09/15/1925/ekspor-agustus-2022-mencapai-us-27-91-miliar--naik-9-17-persen-dibanding-juli-2022-dan-impor-agustus-2022-senilai-us-22-15-miliar--naik-3-77-persen-dibanding-juli-2022.html




สถิติการค้าของอินโดนีเซีย ในห้วงเดือนกันยายน 2565

1. การส่งออก

1.1 มีมูลค่า 24.8 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 10.99 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 20.28 yoy

1.2 ในมูลค่าการส่งออกทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 23.48 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 10.31 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.26 yoy โดยสินค้าที่มียอดการส่งออกเพิ่มสูงสุดคือสินค้าประเภทแร่และกากแร่ มูลค่า 1.05 พันล้าน USD หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 29.07 mom ส่วนสินค้าที่มียอดการส่งออกในเดือนนี้ลดลงอย่างมีนัยสำคัญคือน้ำมันพืชและสัตว์ (รวมถึงน้ำมันปาล์ม) มีมูลค่า 3.04พันล้าน USD ลดลงถึงร้อยละ 31.91 mom
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 1.32 พันล้าน USD ลดลง ร้อยละ 21.41 mom และแต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 41.8 ตามลำดับ

1.3 ประเทศที่อินโดนีเซีย ส่งออกสินค้า non-oil and gas มากที่สุดในเดือน ก.ย. 65 จำนวน 5 อันดับแรก ได้แก่ จีน (6.15 พันล้าน USD) สหรัฐฯ (2.11 พันล้าน USD) ญี่ปุ่น (2.09 พันล้าน USD) อินเดีย (1.74 พันล้าน USD) และมาเลเซีย (1.1 พันล้าน USD)

1.4 การส่งออกของ อินโดนีเซีย ระหว่างเดือน ม.ค. - ก.ย. 65 มีมูลค่ารวม 219.35 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 20.28 yoy โดยสินค้า non-oil and gas มีมูลค่า 207.19 พันล้าน USD ทั้งนี้ สินค้าส่งออกที่สำคัญที่สุด 10 อันดับ และมูลค่าการส่งออกของอุตสาหกรรมสำคัญ 3 ประเภทของ อินโดนีเซีย (เกษตร ป่าไม้ ประมง / อุตสาหกรรมแปรรูป / แร่) /p>

1.5 ในเดือน ก.ย. 65 อินโดนีเซีย ส่งสินค้าออกไปยังไทยเป็นมูลค่า 503.8 ล้าน USD ลดลงร้อยละ 18.04 mom คิดเป็นร้อยละ 2.03 ของมูลค่าส่งออกทั้งเดือน (อันดับที่ 9) และมีมูลค่า การส่งออกไปไทยระหว่างเดือน ม.ค. – ก.ย. 65 อยู่ที่ 5.2 พันล้าน USD


2. การนำเข้า

2.1 มีมูลค่า 19.81 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 10.58 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 22.01 yoy

2.2 ในมูลค่าการนำเข้าทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 16.38 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 11.21 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 14.02 yoy
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 3.43 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 7.44 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 83.53 yoy ตามลำดับ ทั้งนี้ สินค้านำเข้าที่สำคัญที่สุด 10 อันดับ

2.3 ประเทศ ที่ อินโดนีเซีย นำเข้าสินค้าประเภท non-oil and gas มากที่สุดในเดือน ก.ย. 65 จำนวน 5 อันดับแรก ได้แก่

  1. จีน 5.6 พันล้าน USD
  2. ญี่ปุ่น 1.29 พันล้าน USD
  3. ออสเตรเลีย 905 ล้าน USD
  4. สหรัฐฯ 856 ล้าน USD
  5. ไทย 837.8 ล้าน USD หรือร้อยละ 4.22 ของมูลค่านำเข้าทั้งเดือน (ลดลงร้อยละ 7.29 mom)

2.4 การนำเข้าของเดือน อินโดนีเซีย ระหว่างเดือน ม.ค. – ก.ย. 65 มีมูลค่ารวม 179.48 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 22.01 yoy โดยสินค้า non-oil and gas มีมูลค่า 148.43 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 14.02 yoy

2.5 ตามข้อมูลของอินโดนีเซีย ไทยมีมูลค่าการส่งออกไปยัง อินโดนีเซีย ระหว่างเดือน ม.ค. – ก.ย. 65 อยู่ที่ 8.52 พันล้าน USD


3. การได้ดุลการค้า

3.1 ในเดือนนี้ อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้า 4.99 พันล้าน USD (ลดลงประมาณร้อยละ 13 mom แต่สูงกว่าที่ธนาคารพาณิชย์คาดการณ์ไว้ที่ 4.84 พันล้าน USD) โดยเป็นการได้ดุลการค้าจากสินค้า non-oil and gas 7.09 พันล้าน USD แต่ขาดดุลการค้าจากสินค้า oil and gas 2.1 พันล้าน USD) และเป็นการได้ดุลการค้าติดต่อกัน 29 เดือนตั้งแต่เดือน พ.ค. 63 อย่างไรก็ดี ในเดือนนี้ อินโดนีเซีย เสียดุลการค้าให้ไทยประมาณ 334 ล้าน USD

3.2 ตั้งแต่เดือน ม.ค. - ก.ย. 65 อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้ารวมประมาณ 39.91 พันล้าน USD



ที่มา : https://www.bps.go.id/pressrelease/2022/09/15/1925/ekspor-agustus-2022-mencapai-us-27-91-miliar--naik-9-17-persen-dibanding-juli-2022-dan-impor-agustus-2022-senilai-us-22-15-miliar--naik-3-77-persen-dibanding-juli-2022.html




สถิติการค้าของอินโดนีเซีย ในห้วงเดือนตุลาคม 2565

1. การส่งออก

1.1 มีมูลค่า 24.81 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.13 mom และร้อยละ 12.30 yoy ในมูลค่าการส่งออกทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 23.43 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 0.14 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.45 yoy โดยสินค้าที่มียอดการส่งออกเพิ่มสูงสุดคือสินค้าน้ำมันจากสัตว์และพืช (รวมถึงน้ำมันปาล์ม) มูลค่า 437.1 ล้าน USD หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.38 mom ส่วนสินค้าที่มียอดการส่งออกในเดือนนี้ลดลงอย่างมีนัยสำคัญคือสินค้าแร่ กากแร่ และเถ้า มีมูลค่า 407.7 ล้าน USD ลดลงถึงร้อยละ 38.57 mom
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 1.38 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.93 mom และร้อยละ 29.2 mom ตามลำดับ

1.2 ประเทศ ที่ อินโดนีเซีย ส่งออกสินค้า non-oil and gas มากที่สุดในเดือน ต.ค. 65 จำนวน 5 อันดับแรก ได้แก่ จีน (6.25 พันล้าน USD) อินเดีย (2.12 พันล้าน USD) สหรัฐฯ (2.07 พันล้าน USD) ญี่ปุ่น (2 พันล้าน USD) และ มาเลเซีย (0.84 พันล้าน USD)

1.3 การส่งออกของ อินโดนีเซีย ระหว่างเดือน ม.ค. - ต.ค. 65 มีมูลค่ารวม 244.14 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 30.97 yoy โดยสินค้า non-oil and gas มีมูลค่า 230.62 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 30.61 yoy

1.4 ในเดือน ต.ค. 65 อินโดนีเซีย ส่งสินค้าออกไปยังไทยเป็นมูลค่า 570 ล้าน USD เพิ่มขึ้น 64.8 ล้าน USD เมื่อเทียบกับมูลค่าการส่งออกในเดือน ก.ย. 65 และคิดเป็นร้อยละ 2.42 ของมูลค่าส่งออกทั้งเดือน (อันดับที่ 9) และมีมูลค่าการส่งออกไปไทยระหว่างเดือน ม.ค. – ต.ค. 65 อยู่ที่ประมาณ 5.8 พันล้าน USD


2. การนำเข้า

2.1 มีมูลค่า 19.13 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 3.4 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.44 yoy

2.2 ในมูลค่าการนำเข้าทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 15.77 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 3.73 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.56 yoy
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 3.36 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 1.81 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 77.23 yoy ตามลำดับ โดยสินค้าที่มียอดการนำเข้าเพิ่มสูงสุดคือปุ๋ย มีมูลค่า 114.8 ล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 48.8 mom ส่วนสินค้าที่มียอดการนำเข้าลดลงอย่างมีนัยสำคัญคือแร่โลหะมีค่า อัญมณีและเครื่องประดับ มีมูลค่า 196 ล้าน USD ลดลงร้อยละ 35.97 mom

2.3 ประเทศ ที่ อินโดนีเซีย นำเข้าสินค้าประเภท non-oil and gas มากที่สุดในเดือน ต.ค.. 65 จำนวน 6 อันดับแรก ได้แก่

  1. จีน 5.2 พันล้าน USD
  2. ญี่ปุ่น 1.48 พันล้าน USD
  3. เกาหลีใต้ 0.89 พันล้าน USD
  4. ออสเตรเลีย 0.79 พันล้าน USD
  5. สหรัฐฯ 0.78 พันล้าน USD
  6. ไทย 0.73 พันล้าน USD หรือร้อยละ 4.64 ของมูลค่านำเข้าทั้งเดือน

2.4 การนำเข้าของอินโดนีเซีย ระหว่างเดือน ม.ค. – ต.ค. 65 มีมูลค่ารวม 179.48 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 22.01 yoy โดยสินค้า non-oil and gas มีมูลค่า 148.43 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 14.02 yoy

2.5 มูลค่าการนำเข้าจากไทยระหว่างเดือน ม.ค. - ต.ค. 65 อยู่ที่ประมาณ 9.25 พันล้าน USD


3. การได้ดุลการค้า

3.1 ในเดือนนี้ อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้า 5.67 พันล้าน USD โดยเป็นการได้ดุลการค้าจากสินค้า non-oil and gas 7.66 พันล้าน USD แต่ขาดดุลการค้าจากสินค้า oil and gas 1.99 พันล้าน USD) และเป็นการได้ดุลการค้าติดต่อกัน 30 เดือนตั้งแต่เดือน พ.ค. 63 อย่างไรก็ดี ในเดือนนี้ อินโดนีเซีย เสียดุลการค้าให้ไทยประมาณ 160 ล้าน USD

3.2 ตั้งแต่เดือน ม.ค. - ต.ค. 65 อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้ารวมประมาณ 45.58 พันล้าน USD



ที่มา : 1. https://www.bps.go.id/pressrelease/2022/11/15/1927/ekspor-oktober-2022-mencapai-us-24-81-miliar--naik-0-13-persen-dibanding-september-2022--impor-oktober-2022-senilai-us-19-13-miliar--turun-3-40-persen-dibanding-september-2022.html




สถิติการค้าของอินโดนีเซีย ในห้วงเดือนพฤศจิกายน 2565

1. การส่งออก

1.1 มีมูลค่า 24.12 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 2.46 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.58 yoy

1.2 ในมูลค่าการส่งออกทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 22.99 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 1.94 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.88 yoy โดยในจำนวนนี้อุตสาหกรรมที่สำคัญคือสินค้าจากอุตสาหกรรมแปรรูป (processing industry) มูลค่า 16.68 พันล้าน USD สินค้าจากเหมืองแร่ มูลค่า 5.89 พันล้าน USD และสินค้าเกษตร/ป่าไม้/ประมง มูลค่า 420 ล้าน USD
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 1.14 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 11.85 mom และร้อยละ 15.23 mom ตามลำดับ

1.3 ประเทศ ที่ อินโดนีเซีย ส่งออกสินค้า non-oil and gas มากที่สุดในเดือน พ.ย. 65 จำนวน 5 อันดับแรก ได้แก่ จีน (6.28 พันล้าน USD) สหรัฐฯ (2.1 พันล้าน USD) ญี่ปุ่น (1.9 พันล้าน USD) อินเดีย (1.62 พันล้าน USD) และ มาเลเซีย (1.05 พันล้าน USD)

1.4 การส่งออกของ อินโดนีเซีย ระหว่างเดือน ม.ค. - พ.ย. 65 มีมูลค่ารวม 268.18 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 28.16 yoy โดยสินค้า non-oil and gas มีมูลค่า 253.61 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 28.04 yoy

ในเดือน พ.ย. 65 อินโดนีเซีย ส่งสินค้าออกไปยังไทยเป็นมูลค่า 520 ล้าน USD ลดลงประมาณ 50 ล้าน USD เมื่อเทียบกับเดือน ต.ค. 65 คิดเป็นร้อยละ 2.26 ของมูลค่าส่งออกทั้งเดือน(อันดับที่ 9) โดยมีมูลค่าการส่งออกไปไทยระหว่างเดือน ม.ค. – พ.ย. 65 อยู่ที่ประมาณ 6.3 พันล้าน USD


2. การนำเข้า

2.1 มีมูลค่า 18.96 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 0.91 mom และร้อยละ 1.89 yoy ตามลำดับ

2.2 ในมูลค่าการนำเข้าทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 16.16 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.45 mom แต่ลดลงร้อยละ 0.89 yoy โดยในจำนวนนี้ แบ่งออกเป็นการนำเข้าสินค้าหลัก 3 กลุ่ม คือ สินค้าประเภทวัตถุดิบและส่วนประกอบ 14.07 พันล้าน USD สินค้าทุน (capital goods) 3.22 พันล้าน USD และสินค้าอุปโภค (consumption goods) 1.68 พันล้าน USD
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 2.8 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 16.64 mom และร้อยละ 7.3 yoy ตามลำดับ

2.3 ประเทศ ที่ อินโดนีเซีย นำเข้าสินค้าประเภท non-oil and gas มากที่สุดในเดือน พ.ย. 65 จำนวน 5 อันดับแรก ได้แก่

  1. จีน 5.9 พันล้าน USD
  2. ญี่ปุ่น 1.44 พันล้าน USD
  3. ไทย 840 ล้าน USD หรือร้อยละ 5.21 ของมูลค่าการนำเข้าทั้งเดือน
  4. เกาหลีใต้ 790 ล้าน USD
  5. สหรัฐฯ 780 พันล้าน USD

2.4 การนำเข้าของเดือน อินโดนีเซีย ระหว่างเดือน ม.ค. – พ.ย. 65 มีมูลค่ารวม 217.58 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 24.45 yoy โดยสินค้า non-oil and gas มีมูลค่า 180.37 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 18.13 yoy ทั้งนี้ สำนักงานสถิติของ อินโดนีเซีย บันทึกไว้ว่า ในห้วงเดือน ม.ค. - พ.ย. 65 ไทยเป็นประเทศ คู่ค้ารายใหญ่ลำดับ 3 ของ อินโดนีเซีย (นับเฉพาะสินค้า non-oil and gas) โดยมีมูลค่าการนำเข้าจากไทยรวม 10.09 พันล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 5.6 ของการนำเข้าตลอดช่วงเวลาดังกล่าว (อันดับที่ 1 และ 2 คือจีนและ ญี่ปุ่น มูลค่าการนำเข้าสินค้า non-oil and gas 61.39 พันล้าน USD และ 15.58 พันล้าน USD ตามลำดับ)

2.5 มูลค่าการนำเข้าจากไทยระหว่างเดือน ม.ค. - พ.ย. 65 อยู่ที่ประมาณ 10.09 พันล้าน USD


3. การได้ดุลการค้า

3.1 ในเดือนนี้ อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้า 5.16 พันล้าน USD และเป็นการได้ดุลการค้าติดต่อกัน 31 เดือนตั้งแต่เดือน พ.ค. 63 อย่างไรก็ดี ในเดือนนี้ อินโดนีเซียเสียดุลการค้าให้ไทยประมาณ 321.6 ล้าน USD โดยสินค้าที่ขาดดุลการค้าให้ไทยมากที่สุดในเดือนนี้ คือ

  1. เครื่องจักร ส่วนประกอบ และอุปกรณ์ ขาดดุล 105.2 ล้าน USD
  2. สินค้าพลาสติก ขาดดุล 98.6 ล้าน USD
  3. ยานพาหนะและอะไหล่/ส่วนประกอบ ขาดดุล 69 ล้าน USD

3.2 ตั้งแต่เดือน ม.ค. - ต.ค. 65 อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้ารวมประมาณ 50.6 พันล้าน USD ทั้งนี้ มีการประเมินว่าปี 65 จะเป็นปีที่อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้าสูงสุดนับแต่ที่เคยบันทึกมา อย่างไรก็ดี เป็นไปได้สูงว่าในปีหน้าดุลการค้าจะลดลงเนื่องจากการหดตัวทาง ศก. เป็นปัจจัยสำคัญ



ที่มา : https://www.bps.go.id/pressrelease/2022/12/15/1928/ekspor-november-2022-mencapai-us-24-12-miliar--turun-2-46-persen-dibanding-oktober-2022-dan-impor-november-2022-senilai-us-18-96-miliar--turun-0-91-persen-dibanding-oktober-2022.html




สถิติการค้าของอินโดนีเซีย ในห้วงเดือนธันวาคม 2565

1. การส่งออก

1.1 มีมูลค่า 23.83 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 1.10 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.58 yoy

1.2 ในมูลค่าการส่งออกทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 22.35 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 2.73 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.99 yoy โดยธุรกิจส่งออกที่สำคัญยังคงเป็นอุตสาหกรรมแปรรูป (processing industry หรือ manufacturing industry) สินค้าประเภทถ่านหินและแร่ต่าง ๆ รวมถึงสินค้าเกษตรและป่าไม้
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 1.43 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.48 mom และร้อยละ 38.17 yoy ตามลำดับ

1.3 ประเทศ ที่ อินโดนีเซีย ส่งออกสินค้า non-oil and gas มากที่สุดในเดือน ธ.ค. 65 จำนวน 5 อันดับแรก ได้แก่ จีน (5.78 พันล้าน USD) ญี่ปุ่น (2.07 พันล้าน USD) สหรัฐฯ (2.06 พันล้าน USD) อินเดีย (1.65 พันล้าน USD) และ มาเลเซีย (972 ล้าน USD)

อนึ่ง ในเดือน ธ.ค. 65 อินโดนีเซียส่งสินค้าออกไปยังไทย 528 ล้าน USD

1.4 การส่งออกของ อินโดนีเซีย ระหว่างเดือน ม.ค. - ธ.ค. 65

  1. มีมูลค่ารวม 291.98 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 26.07 yoy โดยสินค้า non-oil and gas มีมูลค่า 275.96 พันล้าน USD โดยสินค้าสำคัญคือ เชื้อเพลิงจากแร่ (Mineral Fuel/ถ่านหิน ฯลฯ) มูลค่า 54.98 พันล้าน USD (ร้อยละ 19.92 ของการส่งออกทั้งหมด) และน้ำมันจากพืช/สัตว์ (Animal/Vegetable Oil ซึ่งรวมถึงน้ำมันปาล์มดิบ (CPO) มูลค่า 35.2 พันล้าน USD ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 12.76 ของการส่งออกทั้งปี
  2. อุตสาหกรรมที่สำคัญสำหรับการส่งออกในปี 65 คือ (1) อุตสาหกรรมแปรรูปซึ่งมีมูลค่าการส่งออก 206.35 พันล้าน USD (ร้อยละ 70.67 ของมูลค่าการส่งออกในปี 65) เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.45 YoY (2) อุตสาหกรรมเหมือง มีมูลค่าการส่งออก 64.92 พันล้าน USD ขยายตัว 71.22 YoY และ (3) อุตสาหกรรมน้ำมันและก๊าซ มูลค่า 16.02 พันล้าน USD ขยายตัวร้อยละ 30.82 YoY
  3. ประเทศ ที่ อินโดนีเซีย ส่งออกสินค้า non-oil and gas มากที่สุดในปี 65 คือ (1) จีน 63.55 พันล้าน USD (2) สหรัฐฯ 28.2 พันล้าน USD (3) อินเดีย 23.3 พันล้าน USD (4) ญี่ปุ่น 23.19 พันล้าน USD และ (5) มาเลเซีย 13.56 พันล้าน USD อนึ่ง ในปี 65 อินโดนีเซียส่งสินค้าออกไปยังไทยเป็นมูลค่า 6.89 พันล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 2.5 ของมูลค่าส่งออกทั้งปี

2. การนำเข้า

2.1 มีมูลค่า 19.94 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.16 mom แต่ลดลงร้อยละ 6.61 yoy

2.2 สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 16.74 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.6 mom แต่ลดลงร้อยละ 6.87 yoy โดยสินค้านำเข้าที่สำคัญ ได้แก่ วัตถุดิบในการผลิต (raw/supporting materials) สินค้าทุน (capital goods) และสินค้าอุปโภคบริโภค (consumer goods)

2.3 ประเทศ ที่ อินโดนีเซีย นำเข้าสินค้าประเภท non-oil and gas มากที่สุดในเดือน ธ.ค. 65 จำนวน 5 อันดับแรก ได้แก่

  1. จีน 5.7 พันล้าน USD
  2. ญี่ปุ่น 1.5 พันล้าน USD
  3. ออสเตรเลีย 865.3 ล้าน USD
  4. สหรัฐฯ 773.9 ล้าน USD
  5. ไทย 755.2 ล้าน USD

2.4 สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 3.2 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 14.15 mom แต่ลดลงร้อยละ 5.23 yoy ตามลำดับ

2.5 การนำเข้าของ อินโดนีเซีย ในปี 65

  1. มีมูลค่ารวม 237.52 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 21.07 yoy โดยสินค้า non-oil and gas มีมูลค่า 197.11 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.5 โดยสินค้านำเข้า 10 อันดับแรก
  2. ประเทศ ที่ อินโดนีเซีย นำเข้าสินค้า non-oil and gas มากที่สุดในปี 65 คือ (1) จีน 67.16 พันล้าน USD (2) ญี่ปุ่น 17.08 พันล้าน USD (3) ไทย 10.85 พันล้าน USD (4) เกาหลีใต้ 9.92 พันล้าน USD และ (5) สหรัฐฯ 0.78 พันล้าน USD

3. การได้ดุลการค้า

3.1 ในเดือนนี้ อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้า 3.89 พันล้าน USD และเป็นการได้ดุลการค้าติดต่อกัน 32 เดือน อย่างไรก็ดี ในเดือน ธ.ค. อินโดนีเซีย เสียดุลการค้าให้ไทยประมาณ 227 ล้าน USD

3.2 ในปี 65 อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้ารวม 54.46 พันล้าน USD ซึ่งเป็นดุลการค้าที่สูงที่สุดเท่าที่เคยมีการบันทึกไว้ ซึ่งเป็นผลมาจากสถานการณ์โลกในปีนี้ที่ทำให้สินค้าส่งออกสำคัญของ อินโดนีเซีย มีราคาสูงขึ้นในตลาดโลก แต่เสียดุลการค้าให้ไทยในปี 65 รวม 3.96 พันล้าน USD (เป็นข้อมูลของสำนักงานสถิติอินโดนีเซีย) โดยสินค้าสำคัญที่ อินโดนีเซีย เสียดุลการค้าแก่ไทย ได้แก่ (1) พลาสติกและสินค้าที่ทำจากพลาสติก เสียดุลการค้า 1.3 พันล้าน USD (2) น้ำตาล (sugar and confectionary) เสียดุลการค้า 1.19 พันล้าน USD และ (3) เครื่องจักร/เครื่องจักรเกี่ยวกับอากาศยาน เสียดุล 1.17 พันล้าน USD



ที่มา : https://www.bps.go.id/pressrelease/2023/01/16/1961/ekspor-desember-2022-mencapai-us-23-83-miliar--turun-1-10-persen-dibanding-november-2022-dan-impor-desember-2022-senilai-us-19-94-miliar--naik-5-16-persen-dibanding-november-2022.html


สถิติการลงทุนในอินโดนีเซีย ในไตรมาสที่ 3 ของปี 2564 (เดือนกรกฎาคม - กันยายน 2564)

1. ในไตรมาสนี้ อินโดนีเซียได้รับการลงทุน

มูลค่า 15.16 พันล้าน USD (ลดลงร้อยละ 2.8 QoQ แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.7 YoY) คิดเป็นร้อยละ 73.3 ของมูลค่าเป้าหมายการลงทุนที่ประธานาธิบดีอินโดนีเซียตั้งไว้จำนวน 900 ล้านล้าน IDR (ประมาณ 63 พันล้าน USD) โดยการลงทุนในไตรมาส 3/64 สามารถจำแนกได้เป็นการลงทุน Domestic Direct Investment (DDI) มูลค่า 7.94 พันล้าน USD (เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.8 QoQ และ 10.3 YoY) และ Foreign Direct Investment (FDI) มูลค่า 7.22 พันล้าน USD (ลดลงร้อยละ 11.6 QoQ และ 2.7 YoY) ซึ่งน่าจะเป็นผลจากการแพร่ระบาดของ COVID-19 ระลอกที่ 2 ในอินโดนีเซียในช่วงดังกล่าว

ทั้งนี้ ตั้งแต่เดือนมกราคม – กันยายน 2564 (ไตรมาสที่ 1-3) อินโดนีเซียได้รับการลงทุนมูลค่าทั้งสิ้น 46.16 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.8 YoY โดยแบ่งเป็นการลงทุน DDI มูลค่า 23.21 พันล้าน USD (เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.8 YoY) และ FDI มูลค่า 22.95 พันล้าน USD (เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.9 YoY) ซึ่งหลายฝ่ายคาดการณ์ว่าเป็นหนึ่งในผลลัพธ์เชิงบวกของการประกาศใช้ กม. Omnibus Law on Job Creation

2. สาขาที่ได้รับการลงทุนมากที่สุด มีรายละเอียดดังนี้

2.1 DDI ได้แก่ (1) ธุรกิจบ้าน อสังหาริมทรัพย์ด้านอุตสาหกรรม และสำนักงาน มูลค่า 1.44 พันล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 18.2 และ (2) การคมนาคมขนส่ง โกดังสินค้า และเทคโนโลยีสารสนเทศ มูลค่า 1.23 พันล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 15.5

2.2 FDI ได้แก่ (1) โลหะ สินค้าจากโลหะ ยกเว้นเครื่องจักและอุปกรณ์ทางอุตสาหกรรม มูลค่า 1.5 พันล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 20.9 (2) อุตสาหกรรมเหมืองแร่ 0.9 พันล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 12.6 และ (3) การคมนาคมขนส่ง โกดังสินค้า และเทคโนโลยีสารสนเทศ มูลค่า 0.6 พันล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 8.7

2.3 DDI และ FDI ได้แก่ (1) ธุรกิจบ้าน อสังหาริมทรัพย์ด้านอุตสาหกรรม และสำนักงาน มูลค่า 1.96 พันล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 13 (2) การคมนาคมขนส่ง โกดังสินค้า และเทคโนโลยีสารสนเทศ มูลค่า 1.86 พันล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 12.3 และ (3) โลหะ สินค้าจากโลหะ ยกเว้นเครื่องจักและอุปกรณ์ทางอุตสาหกรรม มูลค่า 1.75 พันล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 11.6

3. พื้นที่ที่มีการลงทุนมากที่สุดในไตรมาสนี้คือ

(1) จ. ชวาตะวันตก ร้อยละ 16 (2) กรุงจาการ์ตา ร้อยละ 11 (3) จ. ชวาตะวันตก ร้อยละ 8.3 (4) จ. หมู่เกาะเรียว ร้อยละ 7.6 และ (5) จ. บันเตน ร้อยละ 6.5

ที่มา : https://www.bkpm.go.id/en/publication/press-release/readmore/2435501/76701




สถิติการค้าของอินโดนีเซีย ในห้วงเดือนพฤศจิกายน 2564

1. การส่งออก

1.1 มีมูลค่า 22.84 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.69 MoM และร้อยละ 49.7 YoY

1.2 ในมูลค่าการส่งออกทั้งหมดของเดือนนี้ (1) สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 21.51 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.4 MoM และร้อยละ 48.38 YoY โดยสาขาที่ขยายตัวอย่างมีนัยสำคัญ คือ อุตสาหกรรมการแปรรูป (processing industry) มูลค่า 16.26 พันล้าน USD หรือคิดเป็นร้อยละ 71.19 ของมูลค่าการส่งออกทั้งเดือนพฤศจิกายน 64 และ (2) สินค้า oil and gas มีมูลค่า 1.33 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 29.95 MoM และร้อยละ 78.4 YoY

1.3 มูลค่าส่งออกทั้งหมดของ อินโดนีเซีย ในเดือนมกราคม - พฤศจิกายน 2564 อยู่ที่ 209.16 พันล้าน USD (เพิ่มขึ้นร้อยละ 42.62 YoY) โดยมีการส่งออกจากอุตสาหกรรมที่มีมูลค่ารวมสูงในช่วง 11 เดือนที่ผ่านมา ได้แก่ (1) ไขมันและน้ำมันจากสัตว์และพืช มูลค่า 29.83 พันล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 15.08 (2) mineral fuel มูลค่า 29.59 พันล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 14.94 โดยจังหวัดที่มีมูลค่าการส่งออกสินค้ามากที่สุด ได้แก่ (1) จ. ชวาตะวันตก 30.71 พันล้าน USD (ร้อยละ 14.68) (2) กาลิมันตันตะวันออก 22 พันล้าน USD (ร้อยละ 10.52) และ (3) จ. ชวาตะวันออก 21.06 พันล้าน USD (ร้อยละ 10.07)

2. การนำเข้า

2.1 มีมูลค่า 19.33 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 18.62 MoM และ 52.62 YoY

2.2 ในมูลค่าการนำเข้าทั้งหมดของเดือนนี้ (1) สินค้า non-oil and gas มีมูลค่า 16.30 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.25 mom และร้อยละ 40.79 yoy โดยมีสินค้านำเข้าที่สำคัญ คือ วัตถุดิบในการผลิต (14.33 พันล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 74.14) สินค้าทุน (3 พันล้าน USD หรือร้อยละ 15.51) และสินค้าอุปโภคบริโภค (2 พันล้าน USD หรือร้อยละ 10.35) และ (2) สินค้า oil and gas มีมูลค่า 3.03 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 18.62 MoM และร้อยละ 52.62 YoY

2.3 มูลค่านำเข้าทั้งหมดของ อินโดนีเซีย ในเดือน ม.ค. – พ.ย. 64 อยู่ที่ 174.84 พันล้าน USD (เพิ่มขึ้นร้อยละ 37.53 YoY) ทั้งนี้ การนำเข้าที่มีมูลค่าสูงในช่วง 10 เดือนที่ผ่านมา ได้แก่ (1) วัตถุดิบการผลิต (raw and supporting materials) (2) สินค้าอุปโภคบริโภค (3) สินค้าทุน (capital goods)

3. การได้ดุลการค้า

ในเดือนนี้ อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้า 3.51 พันล้าน USD โดยในห้วงเดือน ม.ค. – พ.ย. 64 อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้าทั้งหมด 34.32 พันล้าน USD ซึ่งเป็นการได้ดุลการค้าต่อเนื่องกัน 19 เดือน และมีมูลค่าสูงสุดตั้งแต่ปี ค.ศ. 2012

ที่มา :

  1. https://www.bps.go.id/pressrelease/2021/12/15/1829/ekspor-november-2021-mencapai-us-22-84-miliar-dan-impor-november-2021-senilai-us-19-33-miliar.html
  2. https://www.bps.go.id/website/materi_ind/materiBrsInd-20211215113510.pdf
  3. https://www.bps.go.id/website/images/Ekspor-Impor-November-2021-ind.jpeg



สถิติการค้าของอินโดนีเซีย ในห้วงเดือนธันวาคม 2564

1. การส่งออก

1.1 มีมูลค่า 22.38 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 2.04 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 35.3 yoy

1.2 ในมูลค่าการส่งออกทั้งหมดของเดือนนี้ (1) สินค้าที่ไม่ใช่น้ำมันและก๊าซ (non-oil and gas) มีมูลค่า 21.28 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 1.06 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 37.13 yoy โดยธุรกิจส่งออกที่สำคัญยังคงเป็น processing industry และสินค้าประเภทแร่ต่าง ๆ และ (2) สินค้า oil and gas มีมูลค่า 1.09 พันล้าน USD ลดลงร้อยละ 17.93 mom แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.33 yoy

1.3 ประเทศที่ อินโดนีเซีย ส่งออกสินค้า non-oil and gas มากที่สุดในเดือน ธ.ค. 64 ได้แก่ จีน (5.1 พันล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 23.97 ของการส่งออกทั้งหมด) สรอ. (2.64 พันล้าน USD) และ ญป. (1.7 พันล้าน USD) อนึ่ง ในเดือน ธ.ค. 64 อินโดนีเซีย ส่งสินค้าออกไปยังไทยเป็นมูลค่า 0.57 พันล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 2.69 ของมูลค่าส่งออกทั้งเดือน (อันดับที่ 9)

1.4 มูลค่าส่งออกทั้งหมดของ อินโดนีเซีย ในเดือน ม.ค. – ธ.ค. 64 อยู่ที่ 231.54 พันล้าน USD (เพิ่มขึ้นร้อยละ 41.88 yoy) โดยไขมันและน้ำมันจากสัตว์และพืช และ mineral fuel เป็นสินค้าส่งออกที่สำคัญในปีนี้ โดยจังหวัดที่มีมูลค่าการส่งออกสินค้ามากที่สุด ได้แก่ (1) จ. ชวาตะวันตก 33.86 พันล้าน USD (ร้อยละ 14.62) (2) จ. กาลิมันตันตะวันออก 24.32 พันล้าน USD (ร้อยละ 10.2) และ (3) จ. ชวาตะวันออก 23 พันล้าน USD (ร้อยละ 9.94)

2. การนำเข้า

2.1 มีมูลค่า 21.36 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.51 mom และ 47.93 yoy

2.2 ในมูลค่าการนำเข้าทั้งหมดของเดือนนี้

  1. สินค้า non-oil and gas มีมูลค่า 17.98 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.29 mom และร้อยละ 38.78 yoy โดยมีสินค้านำเข้าที่สำคัญ คือ วัตถุดิบในการผลิต (15.63 พันล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 73.18) สินค้าทุน (3.24 พันล้าน USD) และสินค้าอุปโภคบริโภค (2.49 พันล้าน USD)
  2. สินค้า oil and gas มีมูลค่า 3.38 พันล้าน USD เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.66 mom และร้อยละ 127.95 yoy

2.3 ประเทศที่ อินโดนีเซีย นำเข้าสินค้าประเภท non-oil and gas มากที่สุดในเดือน ธ.ค. 64 จำนวน 5 อันดับแรก ได้แก่ จีน (6.23 พันล้าน USD) ญป. (1.34 พันล้าน USD) สรอ. (0.94 พันล้าน) ออสเตรเลีย (0.91 พันล้าน) และ ไทย (0.89 พันล้าน USD)

3. การได้ดุลการค้า

ในเดือนนี้ อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้า 1.02 พันล้าน) โดยในห้วงเดือน ม.ค. – ธ.ค. 64 อินโดนีเซีย ได้ดุลการค้าทั้งหมด 35.54 พันล้าน USD โดยเป็นการได้ดุลการค้าสูงที่สุดในรอบ 15 ปี


ที่มา :

  1. trade balance in Dec 2021: https://www.bps.go.id/pressrelease/2022/01/17/1917/ekspor-desember-2021-mencapai-us-22-38-miliar-dan-impor-desember-2021-senilai-us-21-36-miliar.html



สถิติการค้าของอินโดนีเซีย ปี 2560