ข่าวสารน่ารู้
-
การขึ้นค่าแรงในอินโดนีเซีย
ต้นปีที่ผ่านมาจังหวัดต่างๆ ทั่วอินโดนีเซียทะยอยประกาศขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ ในสัดส่วนที่แตกต่างกัน ในส่วนของกรุงจาการ์ตาประกาศขึ้นจาก ๑.๕ ล้านรูเปียห์/เดือน เป็น ๒.๒ ล้านรูเปียห์/เดือน
-
การเปลี่ยนแปลงค่าเงินรูเปียห์ (Rupiah Redenomination)
ภายหลังจากที่ธนาคารกลางเคยประกาศว่าจะเริ่มนโยบายเปลี่ยนแปลงค่าเงินรูเปียห์ (rupiah redenomination) เมื่อปี ๒๐๑๐ เมื่อปลายปีที่ผ่านมา (๒๐๑๒)
-
กฏกระทรวงจำกัดการนำเข้าพืชเมืองร้อน
เมื่อประมาณเดือน ม. ค. ๒๕๕๕ ก.เกษตรอินโดนีเซียประกาศ กฎกระทรวง ๓ ฉบับ ได้แก่ กฎกระทรวงหมายเลข ๘๘ (กำหนดรายชื่อพืช ผัก ผลไม้สดที่ต้องตรวจสอบการนำเข้า)
-
การปฏิรูปธนาคารและสถาบันการเงินของอินโดนีเซีย
พ้นช่วงวิกฤตรัฐบาลจึงได้ปรับเปลี่ยนกฎระเบียบบางประการ เช่น จำกัดการเปิดสาขาของธนาคารต่างชาติไว้เฉพาะใน ๑๐ เมืองใหญ่ และปัจจุบันไม่มีการออกใบอนุญาตให้เปิดสาขาของธนาคารต่างชาติเพิ่มอีก
-
อินโดนีเซียกับความร่วมมือพลังงานทางเลือก
ในช่วง ๑ ปีที่ผ่านมา อินโดนีเซียพยายามจัดระเบียบอุตสาหกรรมเหมืองแร่ ซึ่งรวมถึงถ่านหินให้ สอดคล้องกับกฎหมายเหมืองแร่ฉบับใหม่ (ฉบับ ๔/๒๐๐๙)
-
กฎหมายเหมืองแร่ (ถ่านหิน) กับผลกระทบต่อไทย
ในช่วง ๑ ปีที่ผ่านมา อินโดนีเซียพยายามจัดระเบียบอุตสาหกรรมเหมืองแร่ ซึ่งรวมถึงถ่านหินให้ สอดคล้องกับกฎหมายเหมืองแร่ฉบับใหม่ (ฉบับ ๔/๒๐๐๙)
-
กฎหมายการใช้เรืออินโดนีเซียในการขนส่งในน่านน้ำ สำหรับอุตสาหกรรมขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ
อินโดนีเซียเป็นประเทศหมู่เกาะจึงมีเขตอาณาทางทะเลและพื้นที่นอกชายฝั่งครอบคลุมบริเวณกว้าง รวมทั้งมีแหล่งทรัพยากรน้ำมันและก๊าซธรรมชาติเป็นจำนวนมาก
-
อุตสาหกรรมยานยนต์อินโดนีเซีย
อุตสาหกรรมยานยนต์อินโดนีเซียเติบโตอย่างต่อเนื่องตามการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ อินโดนีเซีย ในปี ๒๕๕๔ เศรษฐกิจอินโดนีเซียเติบโตร้อยละ ๖.๕
-
อินโดนีเซียกับการเป็น “ตลาด” หรือ “ฐานการผลิต”
อินโดนีเซียในปัจจุบันถูกมองเป็นเขตเศรษฐกิจใหม่ที่มีอัตราการเจริญเติบโตเป็นที่น่าจับตา และเริ่มเป็นแหล่งลงทุนของนักลงทุนต่างชาติ เห็นได้จากยอด FDI ที่ขยับสูงขึ้นทุกๆ ปี
-
อินโดนีเซียกับอาหารฮาลาล
อินโดนีเซียเป็นตลาดที่มีศักยภาพในธุรกิจอาหารฮาลาล เพราะประชากรอินโดนีเซีย ๒๔๐ ล้านคน เป็นมุสลิมร้อยละ ๘๘ (ประมาณ ๒๑๐ ล้านคน) หรือมากกว่าร้อยละ ๑๐ ของประชากรมุสลิมโลก
-
อินโดนีเซียกับความร่วมมือด้านความมั่นคงทางอาหาร
เมื่อวันที่ ๑๕ มี.ค. ๕๕ สื่อท้องถิ่น (The Jakarta Post) ได้ลงข่าวว่า อินโดนีเซียตกลงร่วมมือกับเมียนมาร์และกัมพูชาด้านความมั่นคงทางอาหารโดยได้ลงนามใน MOU ระหว่างกัน
-
อินโดนีเซียประกาศกฎกระทรวงเกษตรควบคุมการนำเข้าพืช ผัก ผลไม้มายังอินโดนีเซีย
เมื่อวันที่ 19 ธ.ค. 54 ที่ผ่านมา รัฐบาลอินโดนีเซียประกาศออกกฎกระทรวงเกษตรฉบับใหม่ 3 ฉบับเพื่อควบคุมการนำเข้าพืช ผัก และผลไม้จากต่างประเทศซึ่งจะมีผลกระทบต่อการส่งออกสินค้าเกษตรไทยไปยังอินโดนีเซีย
-
นโยบายจำกัดการใช้น้ำมันที่ได้รับอุดหนุนกับผลกระทบโดยรวม
เมื่อช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา (๑๖ ม.ค. ๒๕๕๕) รัฐบาลให้ข่าวว่าจะจำกัดไม่ให้ผู้ใช้รถยนต์ เอกชนทั่วไป (private cars) ในเขตกรุงจาการ์ตาและบาหลีเติมน้ำมันที่รัฐอุดหนุน
-
ผลการจัดลำดับความน่าเชื่อถือของ อซ. โดย Moody’s Investors Service
Moody’s Investors Service ได้ยกระดับความน่าเชื่อถือของอินโดนีเซียให้อยู่ที่ระดับ Ba1 เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2554 ที่ผ่านมา
-
แผนลดการให้เงินอุดหนุนน้ำมันเชื้อเพลิงตั้งแต่ปี 2554 ของรัฐบาลอินโดนีเซีย
เมื่อวันที่ 13 ธ.ค. 2553 นาย Hatta Rajasa รมต. ประสานงานด้านเศรษฐกิจอินโดนีเซีย (Coordinating Economic Minister) แจ้งว่า รัฐบาลอินโดนีเซียได้รับการสนับสนุนจากรัฐสภาอินโดนีเซียเพื่อดำเนินแผนในการจำกัดโควต้าการจำหน่ายน้ำมันเชื้อเพลิง
-
สถานการณ์ปัจจุบันของภาค SMEs ในอินโดนีเซีย
มาตรการส่งเสริมภาค SMES ของรัฐบาล อินโดนีเซีย, ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาภาค SMEs ของ อินโดนีเซีย, บทบาทของภาคเอกชนอินโดนีเซียในการส่งเสริมธุรกิจ SMEs ของประเทศ
-
รัฐบาลอินโดนีเซียเปิดประมูลแหล่งก๊าซปิโตรเลียมรอบแรกของปี 2553
รัฐบาลอินโดนีเซียประกาศเปิดประมูลแหล่งก๊าซปิโตรเลียมในอินโดนีเซียจำนวน 20 แปลง สำหรับรอบแรกของปี 2553 โดยอธิบดีกรม Oil and Gas (MIGAS) กระทรวงพลังงานและแร่ธาตุอินโดนีเซีย ได้เชิญให้บริษัทที่สนใจเข้าร่วมการประมูลปกติ (Regular tender) และการยื่นข้อเสนอการประมูลโดยตรง
-
รัฐบาลอินโดนีเซียให้ความสำคัญด้านความมั่นคงทางอาหาร
รัฐบาลอินโดนีเซียให้ความสำคัญด้านความมั่งคงทางอาหารเป็นอย่างมากเพื่อให้อินโดนีเซียบรรลุเป้าหมาย Millennium Development Goals (MDGs) ภายในปี 2015
-
ผลกระทบจากการปรับขึ้นอัตราค่าไฟฟ้าของอินโดนีเซีย
การประกาศปรับขึ้นอัตราฯ (โดยเฉลี่ยร้อยละ 10 และสูงสุดไม่เกินร้อยละ 18 ในกรณีที่เป็นภาคอุตสาหกรรม) เป็นผลมาจากการปรับแก้ตัวเลขงบประมาณแผ่นดินในปี 2010 เมื่อปลายพฤษภาคม 2553
ที่ผ่านมา
-
โครงการผลิตกระแสไฟฟ้าของอินโดนีเซีย
ประธานาธิบดีอินโดนีเซียกล่าวว่าเป้าหมายต่อไปของ บ. PLN (รัฐวิสาหกิจผู้ผลิตกระแสไฟฟ้ารายใหญ่ของอินโดนีเซีย) คือ การทำให้ประชาชนจำนวน 19 ล้านครัวเรือนมีไฟฟ้าใช้ โดยรัฐบาลกลางและภูมิภาคจะร่วมมือกันในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวอย่างจริงจัง
News 61 - 80 of 81
First | Prev. | 1 2 3 4 5 | Next | Last