อุตสาหกรรม
-
สรุปรายละเอียดเกี่ยวกับพัฒนาการของกฎหมาย Omnibus Law on Job Creation
เป้าหมายสูงสุดให้ประเทศหลุดพ้นจากกับดักรายได้ปานกลางและเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ที่มีรายได้และอิทธิพลทาง ศก.
-
ข้อมูลสังเขปเกี่ยวกับนโยบายการจ้างแรงงานต่างชาติของอินโดนีเซีย
มีบทบาทสำคัญในการสร้างงาน การส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างประเทศด้านเศรษฐกิจและสังคม
-
ภาพรวมนโยบายการส่งเสริมการลงทุนของอินโดนีเซีย (ข้อมูล ณ วันที่ 15 ก.พ. 2567)
ในปี 2566 อินโดนีเซียมีการลงทุน (direct investment realization) รวม 1,418.9 ล้านล้าน IDR เพิ่มขึ้น +17.5% yoy และมากเป็น 2 เท่าของการลงทุนในปี 2561
-
สาขาการลงทุนที่รัฐบาลอินโดนีเซียกำหนดให้เป็น top priority และ high priority ในการพัฒนาเมืองหลวงแห่งใหม่ (IKN)
พลังงานหมุนเวียน ซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายการสร้างเมืองหลวงสีเขียว นอกจากนี้ รัฐบาลอินโดนีเซีย
-
ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับการนำเข้าข้าวของอินโดนีเซีย
เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่เป็นฐานเสียงทางการเมืองที่สำคัญของรัฐบาลอินโดนีเซีย และมักจัดการประท้วงการนำเข้าข้าวจากต่างประเทศ
-
นโยบายประมงของอินโดนีเซีย
นโยบายประมงของอินโดนีเซียเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจสีน้ำเงินของประเทศอย่างยั่งยืนในภาพรวม
-
การลงทุนและอุตสาหกรรมปลายน้ำของอินโดนีเซีย (สถานะ เดือน มี.ค. 2567)
นาย Bahlil Lahadalia รัฐมนตรีกระทรวงการลงทุนอินโดนีเซีย ให้ความเห็นต่อผู้สื่อข่าวว่า นโยบายการลงทุนของรัฐบาลอินโดนีเซีย
-
การคาดการณ์เศรษฐกิจอินโดนีเซีย ในปี 2567
เป้าหมายสำคัญด้านเศรษฐกิจที่รัฐบาลอินโดนีเซีย ตั้งไว้สำหรับปี 2567 คือ (1) การทำให้ GDP ขยายตัว 5.3 – 5.7% yoy
-
การส่งเสริม Economic Nationalism ของรัฐบาลอินโดนีเซีย
ประธานาธิบดีอินโดนีเซียได้พยายามส่งเสริม economic nationalism อย่างแข็งขันผ่านการกล่าวถึงในหลายประเด็น ซึ่งในอนาคตอาจเป็นนโยบายภาครัฐ
-
การขยายตลาดการค้า
การเร่งจัดทำและเจรจาความตกลงระหว่างประเทศด้านเศรษฐกิจกับคู่ค้าที่มีศักยภาพ รวมถึงการพยายามเจาะตลาดใหม่ ๆ ที่การค้าการลงทุนของอินโดนีเซียยังไปไม่ถึง/มีศักยภาพ
-
การผลักดันอุตสาหกรรมรถยนต์ไฟฟ้า (Electronic Vehicle) ของอินโดนีเซีย
รัฐบาลอินโดนีเซียตั้งเป้าผลักดันให้มีการประกอบรถยนต์ไฟฟ้าอย่างน้อย 4 แสนคัน และรถจักรยานยนต์ไฟฟ้า 1.7 ล้านคัน ในห้วงปี ค.ศ. 2021-2025
-
อินโดนีเซียมั่นใจการลงทุนต่างชาติเพิ่มขึ้นมากกว่า 10 %
รัฐบาลอินโดนีเซียมั่นใจ อัตราการเติบโตด้านการลงทุนของต่างชาติโตเกินร้อยละ 10
-
สถานการณ์น้ำตาลในอินโดนีเซีย ปี 2562
การคาดการณ์การบริโภคน้ำตาลในอินโดนีเซียนั้นมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องร้อยละ 5-6 ต่อปี อันเกิดจากการใช้น้ำตาลในอุตสาหกรรมยาและอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มที่เพิ่มสูงขึ้นถึงร้อยละ 13.3 ต่อปี
-
รัฐบาลอินโดนีเซียขยายเวลาการอนุโลมการส่งออกสินแร่ที่ยังไม่ผ่านการถลุงบางชนิดออกไปอีก 5 ปี
เมื่อวันที่ 11 ม.ค. 2560 รัฐบาลอินโดนีเซียได้ออกระเบียบที่ 1/2017 เพื่อแก้ไขระเบียบว่าด้วยการอนุโลมการส่งออกสินแร่ที่ยังไม่ผ่านการถลุงบางชนิดเดิมเมื่อปี ค.ศ.2014
-
อินโดนีเซียดันอุตสาหกรรมไข่มุกผงาดเวทีโลก ครองส่วนแบ่งการผลิตไข่มุกโลกถึง50%
แม้ทุกวันนี้ อินโดนีเซีย จะเป็นหนึ่งในกลุ่มผู้ผลิตไข่มุกรายใหญ่สุดของโลก แต่ผู้เชี่ยวชาญก็เห็นว่า มีความจำเป็นที่ประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้แห่งนี้
-
การห้ามส่งออกสินแร่ที่ยังไม่ผ่านการถลุง ภายใต้กฎหมายเหมืองแร่ ปี ค.ศ. 2009
รัฐบาลอินโดนีเซียได้ประกาศใช้กฎหมายเหมืองแร่ (Mining Law ) ปี ค.ศ. 2009 เพื่อทดแทนกฎหมายเดิมที่ประกาศใช้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1967
-
การขึ้นค่าแรงในอินโดนีเซีย
ต้นปีที่ผ่านมาจังหวัดต่างๆ ทั่วอินโดนีเซียทะยอยประกาศขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ ในสัดส่วนที่แตกต่างกัน ในส่วนของกรุงจาการ์ตาประกาศขึ้นจาก ๑.๕ ล้านรูเปียห์/เดือน เป็น ๒.๒ ล้านรูเปียห์/เดือน
-
อุตสาหกรรมยานยนต์อินโดนีเซีย
อุตสาหกรรมยานยนต์อินโดนีเซียเติบโตอย่างต่อเนื่องตามการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ อินโดนีเซีย ในปี ๒๕๕๔ เศรษฐกิจอินโดนีเซียเติบโตร้อยละ ๖.๕
-
อินโดนีเซียกับการเป็น “ตลาด” หรือ “ฐานการผลิต”
อินโดนีเซียในปัจจุบันถูกมองเป็นเขตเศรษฐกิจใหม่ที่มีอัตราการเจริญเติบโตเป็นที่น่าจับตา และเริ่มเป็นแหล่งลงทุนของนักลงทุนต่างชาติ เห็นได้จากยอด FDI ที่ขยับสูงขึ้นทุกๆ ปี
-
รัฐบาลอินโดนีเซียเปิดประมูลแหล่งก๊าซปิโตรเลียมรอบแรกของปี 2553
รัฐบาลอินโดนีเซียประกาศเปิดประมูลแหล่งก๊าซปิโตรเลียมในอินโดนีเซียจำนวน 20 แปลงสำหรับรอบแรกของปี 2553 โดยอธิบดีกรม Oil and Gas (MIGAS) กระทรวงพลังงานและแร่ธาตุอินโดนีเซียได้เชิญให้บริษัทที่สนใจเข้าร่วมการประมูลปกติ (Regular tender) และการยื่นข้อเสนอการประมูลโดยตรง (Direct proposal tender) ดังนี้
News 1 - 20 of 20
First | Prev. | 1 | Next | Last