เศรษฐกิจรายสาขา
-
สถานะการผลิตเอทานอลในอินโดนีเซีย
นโยบายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการผลิตเอทานอล กฎกระทรวงพลังงานและแร่ธาตุอินโดนีเซีย ฉบับที่ 21/2008 กำหนดการใช้ส่วนผสมขั้นต่ำ
สำหรับ Bioethanol ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2008
-
อินโดนีเซียกับความร่วมมือพลังงานทางเลือก
ในช่วง ๑ ปีที่ผ่านมา อินโดนีเซียพยายามจัดระเบียบอุตสาหกรรมเหมืองแร่ ซึ่งรวมถึงถ่านหินให้ สอดคล้องกับกฎหมายเหมืองแร่ฉบับใหม่ (ฉบับ ๔/๒๐๐๙)
-
กฎหมายเหมืองแร่ (ถ่านหิน) กับผลกระทบต่อไทย
ในช่วง ๑ ปีที่ผ่านมา อินโดนีเซียพยายามจัดระเบียบอุตสาหกรรมเหมืองแร่ ซึ่งรวมถึงถ่านหินให้ สอดคล้องกับกฎหมายเหมืองแร่ฉบับใหม่ (ฉบับ ๔/๒๐๐๙)
-
กฎหมายการใช้เรืออินโดนีเซียในการขนส่งในน่านน้ำ สำหรับอุตสาหกรรมขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ
อินโดนีเซียเป็นประเทศหมู่เกาะจึงมีเขตอาณาทางทะเลและพื้นที่นอกชายฝั่งครอบคลุมบริเวณกว้าง รวมทั้งมีแหล่งทรัพยากรน้ำมันและก๊าซธรรมชาติเป็นจำนวนมาก
-
อุตสาหกรรมยานยนต์อินโดนีเซีย
อุตสาหกรรมยานยนต์อินโดนีเซียเติบโตอย่างต่อเนื่องตามการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ อินโดนีเซีย ในปี ๒๕๕๔ เศรษฐกิจอินโดนีเซียเติบโตร้อยละ ๖.๕
-
อินโดนีเซียกับการเป็น “ตลาด” หรือ “ฐานการผลิต”
อินโดนีเซียในปัจจุบันถูกมองเป็นเขตเศรษฐกิจใหม่ที่มีอัตราการเจริญเติบโตเป็นที่น่าจับตา และเริ่มเป็นแหล่งลงทุนของนักลงทุนต่างชาติ เห็นได้จากยอด FDI ที่ขยับสูงขึ้นทุกๆ ปี
-
อินโดนีเซียกับอาหารฮาลาล
อินโดนีเซียเป็นตลาดที่มีศักยภาพในธุรกิจอาหารฮาลาล เพราะประชากรอินโดนีเซีย ๒๔๐ ล้านคน เป็นมุสลิมร้อยละ ๘๘ (ประมาณ ๒๑๐ ล้านคน) หรือมากกว่าร้อยละ ๑๐ ของประชากรมุสลิมโลก
-
อินโดนีเซียกับความร่วมมือด้านความมั่นคงทางอาหาร
เมื่อวันที่ ๑๕ มี.ค. ๕๕ สื่อท้องถิ่น (The Jakarta Post) ได้ลงข่าวว่า อินโดนีเซียตกลงร่วมมือกับเมียนมาร์และกัมพูชาด้านความมั่นคงทางอาหารโดยได้ลงนามใน MOU ระหว่างกัน
-
ญี่ปุ่นลงทุนรถไฟความเร็วสูงในอินโดนีเซีย
เมื่อวันที่ ๑๙ มี.ค. ๒๕๕๕ สื่อท้องถิ่น (Jakarta Globe) รายงานข่าวว่ารัฐบาลญี่ปุ่นจะเข้ามาลงทุนโครงการรถไฟความเร็วสูงให้กับอินโดนีเซีย โดยรัฐบาลญี่ปุ่นโดยกระทรวงขนส่งภาคพื้นดิน
-
รัฐบาลอินโดนีเซียเปิดประมูลแหล่งก๊าซปิโตรเลียมรอบแรกของปี 2553
รัฐบาลอินโดนีเซียประกาศเปิดประมูลแหล่งก๊าซปิโตรเลียมในอินโดนีเซียจำนวน 20 แปลงสำหรับรอบแรกของปี 2553 โดยอธิบดีกรม Oil and Gas (MIGAS) กระทรวงพลังงานและแร่ธาตุอินโดนีเซียได้เชิญให้บริษัทที่สนใจเข้าร่วมการประมูลปกติ (Regular tender) และการยื่นข้อเสนอการประมูลโดยตรง (Direct proposal tender) ดังนี้
-
อินโดนีเซียประกาศกฎกระทรวงเกษตรควบคุมการนำเข้าพืช ผัก ผลไม้มายังอินโดนีเซีย
เมื่อวันที่ 19 ธ.ค. 54 ที่ผ่านมา รัฐบาลอินโดนีเซียประกาศออกกฎกระทรวงเกษตรฉบับใหม่ 3 ฉบับเพื่อควบคุมการนำเข้าพืช ผัก และผลไม้จากต่างประเทศซึ่งจะมีผลกระทบต่อการส่งออกสินค้าเกษตรไทยไปยังอินโดนีเซีย
-
นโยบายจำกัดการใช้น้ำมันที่ได้รับอุดหนุนกับผลกระทบโดยรวม
เมื่อช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา (๑๖ ม.ค. ๒๕๕๕) รัฐบาลให้ข่าวว่าจะจำกัดไม่ให้ผู้ใช้รถยนต์ เอกชนทั่วไป (private cars) ในเขตกรุงจาการ์ตาและบาหลีเติมน้ำมันที่รัฐอุดหนุน
-
ธนาคารกลางอินโดนีเซียประกาศใช้ข้อบังคับทางการเงินใหม่
ธนาคารกลางอินโดนีเซียได้กำหนดให้ธนาคารพาณิชย์อินโดนีเซียมี LDR อยู่ที่ร้อยละ 78-100
-
การกำหนดนโยบายภาษีของรัฐบาลอินโดนีเซียสำหรับผู้รับเหมาโครงการน้ำมันและก๊าซ
รัฐบาลอินโดนีเซียจะกำหนดมาตรการในการยกเว้นภาษีให้แก่ผู้รับเหมาโครงการน้ำมันและก๊าซสำหรับช่วงที่อยู่ในระหว่างการดำเนินการสำรวจแหล่งน้ำมันและก๊าซ
-
แผนการปรับค่าเงินสกุลรูเปียห์
ผู้ว่าการธนาคารกลางอินโดนีเซียเปิดเผยแผนการปรับค่าเงินสกุลรูเปียห์ว่ามีสาเหตุมาจากมูลค่าเงินสกุลรูเปียห์ในปัจจุบันที่ต่ำเกินไป
-
สถาบันการเงินในอินโดนีเซีย
หน้าที่พื้นฐานของธนาคารในอินโดนีเซีย คือ การเป็นตัวกลางในการนำเงินฝากจากด้านที่มีเงินส่วนเกิน เพื่อเป็นช่องทางในการจัดสรรเงินให้กับด้านที่ขาดเงินทุน
-
การประเมินกำลังการผลิตกระแสไฟฟ้าของอินโดนีเซีย
บริษัท PLN ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจผู้ผลิตกระแสไฟฟ้ารายใหญ่ของอินโดนีเซียได้ประเมินว่า อินโดนีเซียต้องใช้เงินลงทุนถึง 9.74 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
-
การทำธุรกิจเหมืองถ่านหินในอินโดนีเซีย
ในจังหวัดกาลิมันตันใต้เป็นพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรถ่านหินสูง โดยเฉพาะในเขตเมือง Tanah Bumbu จึงทำให้นักธุรกิจหลายรายประสงค์จะเข้ามาทำเหมืองถ่านหินในพื้นที่ดังกล่าวจนเกิดภาวะการแข่งขัน
-
โครงการก่อสร้างโรงงานไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ในอินโดนีเซีย
เมื่อวันจันทร์ที่ 15 มี.ค. 53 สภาผู้แทนราษฎรอินโดนีเซียได้ให้ความเห็นชอบต่อแผนโครงการก่อสร้างโรงงานไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ของรัฐบาล และประธานคณะกรรมาธิการ 6 ของสภาผู้แทนราษฎรอินโดนีเซียซึ่งรับผิดชอบเรื่องพลังงาน เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
-
รัฐบาลอินโดนีเซียให้ความสำคัญด้านความมั่นคงทางอาหาร
รัฐบาลอินโดนีเซียให้ความสำคัญด้านความมั่งคงทางอาหารเป็นอย่างมากเพื่อให้อินโดนีเซียบรรลุเป้าหมาย Millennium Development Goals (MDGs) ภายในปี 2015
News 61 - 80 of 81
First | Prev. | 1 2 3 4 5 | Next | Last