เศรษฐกิจรายสาขา
-
กระทรวงเกษตรอินโดนีเซียประกาศขึ้นทะเบียนห้องปฏิบัติการของไทย 9 แห่ง
กระทรวงเกษตรอินโดนีเซียได้ออกประกาศรัฐมนตรีว่าการกระทรวงฯ ที่ 103/KPTS/KR.040/L/1/2016 ลงวันที่ 22 ม.ค. 2559 ว่าด้วยการขึ้นทะเบียนห้องปฏิบัติการของไทย 9 แห่ง ซึ่งสามารถออกใบรับรองผลการตรวจวิเคราะห์ (Certificate of Analysis) สารตกค้างในพืช ผัก ผลไม้ ที่ส่งออกจากไทยไปยังอินโดนีเซีย
-
นโยบายน้ำมันขายปลีกในรัฐบาล Jokowi
เมื่อวันที่ 18 พ.ย. 2557 รัฐบาลอินโดนีเซียประกาศขึ้นราคาน้ำมันอุดหนุนในอัตราลิตรละ 2,000 รูเปียห์
-
การแก้ไขกฎกระทรวงเกษตรอินโดนีเซียที่ 88/2011 ว่าด้วย Food Safety Control on Importation and Exportation of Fresh Food of Plant Origin (FFPO)
กฎกระทรวงฉบับใหม่นี้จะมีผลบังคับใช้ภายใน 6 เดือน หลังจากมีการประกาศในราชกิจจานุเบกษาของอินโดนีเซีย ซึ่งคาดว่าจะเป็นช่วงประมาณเดือน เม.ย.-พ.ค. 2558
-
อินโดนีเซียดันอุตสาหกรรมไข่มุกผงาดเวทีโลก ครองส่วนแบ่งการผลิตไข่มุกโลกถึง50%
แม้ทุกวันนี้ อินโดนีเซีย จะเป็นหนึ่งในกลุ่มผู้ผลิตไข่มุกรายใหญ่สุดของโลก แต่ผู้เชี่ยวชาญก็เห็นว่า มีความจำเป็นที่ประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้แห่งนี้
-
อุตสาหกรรมปิโตรเคมีในประเทศอินโดนีเซีย
อินโดนีเซียเติบโตอย่างรวดเร็วในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมา นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 2010 เติบโตเฉลี่ยเกินกว่าร้อยละ 6 ยกเว้นปี 2013 ที่การเติบโตชะลอตัวลงเล็กน้อยอยู่ที่ ร้อยละ 5.78
-
การห้ามส่งออกสินแร่ที่ยังไม่ผ่านการถลุง ภายใต้กฎหมายเหมืองแร่ ปี ค.ศ. 2009
รัฐบาลอินโดนีเซียได้ประกาศใช้กฎหมายเหมืองแร่ (Mining Law ) ปี ค.ศ. 2009 เพื่อทดแทนกฎหมายเดิมที่ประกาศใช้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1967
-
กฎกระทรวงเกษตรและกระทรวงการค้าอินโดนีเซียเกี่ยวกับการนำเข้าผลิตภัณฑ์พืชสวนจากต่างประเทศฉบับใหม่
กระทรวงเกษตรอินโดนีเซียได้ออกกฎกระทรวงว่าด้วยการออกหนังสือรับรองการอนุญาตนำเข้าผลิตภัณฑ์พืชสวนจากต่างประเทศ
-
เอทานอลและไบโอดีเซลในอินโดนีเซีย
อินโดนีเซียผลิตไบโอดีเซล เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จาก 781 ล้านลิตร ในปี 2553 เป็น 1.52 พันล้านลิตร ในปี 2554 โดยใช้บริโภคภายในร้อยละ 10
-
การขึ้นค่าแรงในอินโดนีเซีย
ต้นปีที่ผ่านมาจังหวัดต่างๆ ทั่วอินโดนีเซียทะยอยประกาศขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ ในสัดส่วนที่แตกต่างกัน ในส่วนของกรุงจาการ์ตาประกาศขึ้นจาก ๑.๕ ล้านรูเปียห์/เดือน เป็น ๒.๒ ล้านรูเปียห์/เดือน
-
การเปลี่ยนแปลงค่าเงินรูเปียห์ (Rupiah Redenomination)
ภายหลังจากที่ธนาคารกลางเคยประกาศว่าจะเริ่มนโยบายเปลี่ยนแปลงค่าเงินรูเปียห์ (rupiah redenomination) เมื่อปี ๒๐๑๐ เมื่อปลายปีที่ผ่านมา (๒๐๑๒)
-
กฏกระทรวงจำกัดการนำเข้าพืชเมืองร้อน
เมื่อประมาณเดือน ม. ค. ๒๕๕๕ ก.เกษตรอินโดนีเซียประกาศ กฎกระทรวง ๓ ฉบับ ได้แก่ กฎกระทรวงหมายเลข ๘๘ (กำหนดรายชื่อพืช ผัก ผลไม้สดที่ต้องตรวจสอบการนำเข้า)
-
การปฏิรูปธนาคารและสถาบันการเงินของอินโดนีเซีย
พ้นช่วงวิกฤตรัฐบาลจึงได้ปรับเปลี่ยนกฎระเบียบบางประการ เช่น จำกัดการเปิดสาขาของธนาคารต่างชาติไว้เฉพาะใน ๑๐ เมืองใหญ่ และปัจจุบันไม่มีการออกใบอนุญาตให้เปิดสาขาของธนาคารต่างชาติเพิ่มอีก
-
สถานะการผลิตเอทานอลในอินโดนีเซีย
นโยบายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการผลิตเอทานอล กฎกระทรวงพลังงานและแร่ธาตุอินโดนีเซีย ฉบับที่ 21/2008 กำหนดการใช้ส่วนผสมขั้นต่ำ
สำหรับ Bioethanol ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2008
-
อินโดนีเซียกับความร่วมมือพลังงานทางเลือก
ในช่วง ๑ ปีที่ผ่านมา อินโดนีเซียพยายามจัดระเบียบอุตสาหกรรมเหมืองแร่ ซึ่งรวมถึงถ่านหินให้ สอดคล้องกับกฎหมายเหมืองแร่ฉบับใหม่ (ฉบับ ๔/๒๐๐๙)
-
กฎหมายเหมืองแร่ (ถ่านหิน) กับผลกระทบต่อไทย
ในช่วง ๑ ปีที่ผ่านมา อินโดนีเซียพยายามจัดระเบียบอุตสาหกรรมเหมืองแร่ ซึ่งรวมถึงถ่านหินให้ สอดคล้องกับกฎหมายเหมืองแร่ฉบับใหม่ (ฉบับ ๔/๒๐๐๙)
-
กฎหมายการใช้เรืออินโดนีเซียในการขนส่งในน่านน้ำ สำหรับอุตสาหกรรมขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ
อินโดนีเซียเป็นประเทศหมู่เกาะจึงมีเขตอาณาทางทะเลและพื้นที่นอกชายฝั่งครอบคลุมบริเวณกว้าง รวมทั้งมีแหล่งทรัพยากรน้ำมันและก๊าซธรรมชาติเป็นจำนวนมาก
-
อุตสาหกรรมยานยนต์อินโดนีเซีย
อุตสาหกรรมยานยนต์อินโดนีเซียเติบโตอย่างต่อเนื่องตามการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ อินโดนีเซีย ในปี ๒๕๕๔ เศรษฐกิจอินโดนีเซียเติบโตร้อยละ ๖.๕
-
อินโดนีเซียกับการเป็น “ตลาด” หรือ “ฐานการผลิต”
อินโดนีเซียในปัจจุบันถูกมองเป็นเขตเศรษฐกิจใหม่ที่มีอัตราการเจริญเติบโตเป็นที่น่าจับตา และเริ่มเป็นแหล่งลงทุนของนักลงทุนต่างชาติ เห็นได้จากยอด FDI ที่ขยับสูงขึ้นทุกๆ ปี
-
อินโดนีเซียกับอาหารฮาลาล
อินโดนีเซียเป็นตลาดที่มีศักยภาพในธุรกิจอาหารฮาลาล เพราะประชากรอินโดนีเซีย ๒๔๐ ล้านคน เป็นมุสลิมร้อยละ ๘๘ (ประมาณ ๒๑๐ ล้านคน) หรือมากกว่าร้อยละ ๑๐ ของประชากรมุสลิมโลก
-
อินโดนีเซียกับความร่วมมือด้านความมั่นคงทางอาหาร
เมื่อวันที่ ๑๕ มี.ค. ๕๕ สื่อท้องถิ่น (The Jakarta Post) ได้ลงข่าวว่า อินโดนีเซียตกลงร่วมมือกับเมียนมาร์และกัมพูชาด้านความมั่นคงทางอาหารโดยได้ลงนามใน MOU ระหว่างกัน
News 41 - 60 of 73
First | Prev. | 1 2 3 4 | Next | Last