เศรษฐกิจรายสาขา
-
ข้อมูลโดยสังเขปเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวอินโดนีเซีย
จุดแข็งของอินโดนีเซียด้านการท่องเที่ยว คือ จำนวนประชากรมากกว่า 280 ล้านคน ทำให้ตลาดมีขนาดใหญ่ และประชากรส่วนใหญ่นิยมการท่องเที่ยวในประเทศ
-
การขึ้นภาษี VAT ของอินโดนีเซีย
การดำเนินการดังกล่าวเป็นไปตามกฎหมาย Harmonization of Tax Regulation Law (UU HPP) ของอินโดนีเซียซึ่งประกาศใช้เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2564 ในยุคของรัฐบาลนายโจโก วิโดโด
-
Summary of the Launch of World Bank’s Indonesia Economic Prospects (IEP) December 2024
The Launch of World Bank’s Indonesia Economic Prospects (IEP) December 2024 Edition was held on 16 December 2024 by the World Bank in collaboration with the Indonesian and Australian Governments.
-
สรุปข้อมูลกรณีการห้ามขาย iPhone 16 ในอินโดนีเซีย
อินโดนีเซียมีนโยบายการสร้างความเชื่อมโยงด้านดิจิทัลภายในประเทศและระหว่างประเทศ เพื่อให้ ประชาชนสามารถเข้าถึงการศึกษา แหล่งเงินทุน และโอกาสทางเศรษฐกิจ อันจะนำไปสู่การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และความเป็นอยู่ที่ดี
-
พัฒนาการสำคัญด้านเศรษฐกิจ ในระหว่างวาระการดำรงตำแหน่งของประธานาธิบดี Joko Widodo (ค.ศ. 2014-2024)
การสร้างอิสรภาพทางเศรษฐกิจ(economic independence) โดยการปฏิรูปเศรษฐกิจทั้งระบบผ่านการพัฒนาอุตสาหกรรม ด้วยการเชื่อมต่อ ต่อยอด และเพิ่มมูลค่าของทรัพยากรธรรมชาติที่อินโดนีเซียมีอยู่ โดยการดึงดูดการลงทุนทั้งจากภายในและต่างประเทศ
-
แนวนโยบายเศรษฐกิจของประธานาธิบดี Prabowo Subianto (ค.ศ. 2024-2029)
เป้าหมายสำคัญ คือ หลักเศรษฐกิจปัญจศีล (“Pancasila Economics”) หมายถึงการพัฒนาและส่งเสริมการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่สอดคล้องกับหลักปัญจศีลของอินโดนีเซียเพื่อประชาชน
-
กองทุน Daya Anagata Nusantara (Danantara) ของอินโดนีเซีย
โครงสร้างบริหารกองทุน Danantara เป็นกองทุนภาครัฐลำดับที่ 2 ต่อจากกองทุนความมั่งคั่งแห่งชาติ (Sovereign Wealth Fund - WF) ภายใต้ Omnibus Law on Job Creation ซึ่งกำกับดูแลโดย Indonesia Investment Authority
-
การเก็บภาษีนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้าบาหลี (International Tourists Levy)
ตั้งแต่วันที่ 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2024 เป็นต้นไป จังหวัดบาหลี จะดำเนินการเก็บภาษีนักท่องเที่ยวต่างชาติทุกคนที่เดินทางเข้าบาหลี
-
สรุปรายละเอียดเกี่ยวกับพัฒนาการของกฎหมาย Omnibus Law on Job Creation
เป้าหมายสูงสุดให้ประเทศหลุดพ้นจากกับดักรายได้ปานกลางและเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ที่มีรายได้และอิทธิพลทาง ศก.
-
ข้อมูลสังเขปเกี่ยวกับนโยบายการจ้างแรงงานต่างชาติของอินโดนีเซีย
มีบทบาทสำคัญในการสร้างงาน การส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างประเทศด้านเศรษฐกิจและสังคม
-
ภาพรวมนโยบายการส่งเสริมการลงทุนของอินโดนีเซีย (ข้อมูล ณ วันที่ 15 ก.พ. 2567)
ในปี 2566 อินโดนีเซียมีการลงทุน (direct investment realization) รวม 1,418.9 ล้านล้าน IDR เพิ่มขึ้น +17.5% yoy และมากเป็น 2 เท่าของการลงทุนในปี 2561
-
การย้ายเมืองหลวงของอินโดนีเซีย ไปยังกรุง Nusantara (Ibu Kota Negara – IKN) ที่พื้นที่จังหวัดกาลิมันตันตะวันออก
เมื่อวันที่ 18 ม.ค. 2565 รัฐสภาอินโดนีเซียได้ผ่านกฎหมายเกี่ยวกับการย้ายเมืองหลวงแห่งใหม่ของอินโดนีเซีย จากกรุงจาการ์ตา (เกาะชวา) ไปเป็น “กรุง Nusantara”
-
สาขาการลงทุนที่รัฐบาลอินโดนีเซียกำหนดให้เป็น top priority และ high priority ในการพัฒนาเมืองหลวงแห่งใหม่ (IKN)
พลังงานหมุนเวียน ซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายการสร้างเมืองหลวงสีเขียว นอกจากนี้ รัฐบาลอินโดนีเซีย
-
ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับการนำเข้าข้าวของอินโดนีเซีย
เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่เป็นฐานเสียงทางการเมืองที่สำคัญของรัฐบาลอินโดนีเซีย
-
นโยบายประมงของอินโดนีเซีย
นโยบายประมงของอินโดนีเซียเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจสีน้ำเงินของประเทศอย่างยั่งยืนในภาพรวม
-
การสมัครเป็นสมาชิกองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) ของอินโดนีเซีย
ปัจจุบันอินโดนีเซียยังไม่ได้เป็นสมาชิก OECD แต่มีความร่วมมือกับ OECD มาเป็นระยะเวลานาน โดยเป็นประเทศ Key Partner ของ OECD ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2007 – ปัจจุบัน
-
การลงทุนและอุตสาหกรรมปลายน้ำของอินโดนีเซีย (สถานะ เดือน มี.ค. 2567)
นาย Bahlil Lahadalia รัฐมนตรีกระทรวงการลงทุนอินโดนีเซีย ให้ความเห็นต่อผู้สื่อข่าวว่า นโยบายการลงทุนของรัฐบาลอินโดนีเซีย
-
ความมั่นคงทางอาหารของอินโดนีเซีย
อินโดนีเซียนำเข้าสินค้าโภคภัณฑ์ 4 รายการ ได้แก่ ข้าว ข้าวโพด น้ำตาล และเนื้อวัว ใน 11 เดือนแรกของปี 66 สูงถึง 5 พันล้าน USD และนำเข้าน้ำตาล 4.55 ล้านตัน มูลค่า 2.54 พันล้าน USD โดยนำเข้าจากไทยเป็นอันดับ 1 (ราว 48.82%)
-
การส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
รัฐบาลอินโดนีเซียให้ความสำคัญกับเศรษฐกิจดิจิทัล ทั้งในระดับบริษัทขนาดใหญ่และ MSMEs โดยประเมินว่าการทำธุรกรรมในระบบ e-commerce ของอินโดนีเซีย มีมูลค่าประมาณ 34.41 พันล้าน USD ในปี 2566 เพิ่มขึ้น 10.69% yoy
-
การคาดการณ์เศรษฐกิจอินโดนีเซีย ในปี 2567
เป้าหมายสำคัญด้านเศรษฐกิจที่รัฐบาลอินโดนีเซีย ตั้งไว้สำหรับปี 2567 คือ (1) การทำให้ GDP ขยายตัว 5.3 – 5.7% yoy
-
การส่งเสริม Economic Nationalism ของรัฐบาลอินโดนีเซีย
ประธานาธิบดีอินโดนีเซียได้พยายามส่งเสริม economic nationalism อย่างแข็งขันผ่านการกล่าวถึงในหลายประเด็น ซึ่งในอนาคตอาจเป็นนโยบายภาครัฐ
-
สรุปการบรรยายเกี่ยวกับสภาวะและการคาดการณ์เศรษฐกิจอินโดนีเซีย โดยนาย Josua Pardede, Chief Economist ของ Bank Permata เมื่อวันที่ 11 ก.ย. 2566
เศรษฐกิจอินโดนีเซียยังมีแนวโน้มที่ดีเมื่อเทียบกับประเทศในกลุ่ม G20 โดยเฉพาะประเทศที่พัฒนาแล้ว ซึ่งเป็นผลจากการบริโภคภาคครัวเรือน การส่งออก
-
การค้า/การลงทุน
การเร่งจัดทำและเจรจาความตกลงระหว่างประเทศด้านเศรษฐกิจกับคู่ค้าที่มีศักยภาพ รวมถึงการพยายามเจาะตลาดใหม่ ๆ ที่การค้าการลงทุนของอินโดนีเซียยังไปไม่ถึง/มีศักยภาพ
-
การเร่งพัฒนาการเปลี่ยนผ่านทางเทคโนโลยีของอินโดนีเซีย
Ministry of Communication and Informatics อินโดนีเซีย ตั้งเป้าหมายเร่งพัฒนาการเปลี่ยนผ่านทางเทคโนโลยี (digital transformation) ในอินโดนีเซีย
-
การผลักดันอุตสาหกรรมรถยนต์ไฟฟ้า (Electronic Vehicle) ของอินโดนีเซีย
รัฐบาลอินโดนีเซียตั้งเป้าผลักดันให้มีการประกอบรถยนต์ไฟฟ้าอย่างน้อย 4 แสนคัน และรถจักรยานยนต์ไฟฟ้า 1.7 ล้านคัน ในห้วงปี ค.ศ. 2021-2025
-
พัฒนาการด้านการท่องเที่ยวของอินโดนีเซีย
อินโดนีเซียได้กำหนดแผนการผลักดันการท่องเที่ยว โดยมีเป้าหมายหลักคือการ “rebrand” การท่องเที่ยว ให้เป็นการท่องเที่ยวเชิงคุณภาพ
-
กฎระเบียบเกี่ยวกับการรับรองสินค้าและผลิตภัณฑ์ฮาลาลของอินโดนีเซีย
อินโดนีเซียเป็นประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นประเทศ ที่มีประชากรมุสลิมมากที่สุดในโลก ทำให้อุตสาหกรรมและตลาดฮาลาลของอินโดนีเซียมีขนาดใหญ่และศักยภาพสูง
-
Indonesia Obtains US$ 2.58 billion Investment from AA Power Link Project
On September 23, Australian energy infrastructure company, Sun Cable, announced its US$ 2.58 billion investment to Indonesia for the electricity export from Darwin to Singapore
-
ความร่วมมือในการเปิดบริการชำระเงินผ่าน QR Code ระหว่างธนาคารแห่งประเทศไทย กับธนาคารกลางอินโดนีเซีย Bank Indonesia
เมื่อวันที่ 17 ส.ค. 2564 Bank Indonesia (BI) ออกแถลงการณ์ร่วมกับธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ว่า ทั้งสองธนาคารได้เริ่มการเชื่อมโยงระบบชำระเงินระหว่างทั้ง 2 ประเทศ ผ่านการใช้ QR Code
-
Government to Establish Indonesia Health Tourism Board
On September 15, Coordinating Minister for Maritime Affairs and Investment, Luhut Binsar Pandjaitan, led the coordination meeting to form the Indonesian Health Tourism Board (IHTB).
-
Groundbreaking of EV Battery Factory in Karawang, West Java
On September 15, President Joko Widodo and Minister of Investment, Bahlil Lahadalia, attended the groundbreaking of EV battery factory PT HKML Battery Indonesia
-
การเสนอแผนการใช้จ่ายงบประมาณปี 2565 ของอินโดนีเซีย
รัฐบาลอินโดนีเซียได้เสนอแผนการใช้จ่ายในปี 2565 เพื่อขอรับงบประมาณจำนวน 188 พันล้าน USD โดยตั้งเป้าหมายจะทำให้เศรษฐกิจในปี 2565
-
President Joko Widodo ordered Minister of Agriculture to Seriously Handle Porang Plant Export
On August 19, during a visit to a porang plant processing company PT Asia Prima Konjac in Madiun, East Java, President Widodo asked Minister of Agriculture Syahrul Yasin Limpo
-
Coordinating Minister for Economic Affairs to Explain Government’s Commitment on the Sustainable Palm Oil Industry
On August 18, Coordinating Minister for Economic Affairs, Airlangga Hartarto, stated that with 58% share of the world’s palm oil market
-
Ministry of Marine Affairs and Fisheries to Prevent Lobster Seeds Smuggling
On August 18, the Head of Fisheries Quarantine Agency of the Ministry of Marine Affairs and Fisheries, Rina, stated that as of 23 December 2020 to 15 August 2021
-
President to Inaugurate the Simultaneous Indonesian Agriculture Exports
On August 14, President Joko Widodo virtually inaugurated the simultaneous exports of Indonesia’s agriculture product valued at IDR 7.29 trillion (~US$ 500 million)
-
Coordinating Ministry for Maritime Affairs and Fisheries to Maximize Solar Power in the Free Trade Area and Free Port of Sabang
On August 12, the Sabang Free Trade Area and Free Port Concession Agency (BPKS) signed an MoU with PT Empat Mitra Indika Tenaga Surya (EMITS) and Enertec Mitra Solusi (ENERTEC)
-
อินโดนีเซียออกนโยบายกระตุ้นการท่องเที่ยวดึงดูดชาวต่างชาติ
รัฐบาลอินโดนีเซียออกนโยบายด้านการท่องเที่ยวเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวต่างชาติ
-
อินโดนีเซียมั่นใจการลงทุนต่างชาติเพิ่มขึ้นมากกว่า 10 %
รัฐบาลอินโดนีเซียมั่นใจ อัตราการเติบโตด้านการลงทุนของต่างชาติโตเกินร้อยละ 10
-
อินโดนีเซียคงอัตราดอกเบี้ย จับตามองนโยบาย Fed อย่างต่อเนื่อง
Bank Indonesia (BI) คงอัตราดอกเบี้ย โดยติดตามนโยบายธนาคารกลางสหรัฐ (US Fed) อย่างใกล้ชิด
-
อินโดนีเซียได้ดุลการค้า ในเดือนพฤษภาคม
ดุลการค้าอินโดนีเซียกลับมาเกินดุลอีกครั้งในเดือนพฤษภาคม 2562 หลังจากขาดดุลมากที่สุดในเดือนก่อน
-
สถานการณ์น้ำตาลในอินโดนีเซีย ปี 2562
การคาดการณ์การบริโภคน้ำตาลในอินโดนีเซียนั้นมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องร้อยละ 5-6 ต่อปี อันเกิดจากการใช้น้ำตาลในอุตสาหกรรมยาและอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มที่เพิ่มสูงขึ้นถึงร้อยละ 13.3 ต่อปี
-
โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของรัฐบาล Jokowi (National Strategic Projects)
ในปี 2559 รัฐบาลอินโดนีเซียได้ออก พรฎ. (Presidential Decree) ที่ 3/2016 และคำสั่ง ปธน. (Presidential Instruction) ที่ 1/2016 เป็นกรอบทางกฎหมายให้ จนท. ที่เกี่ยวข้องใช้ในการเร่งรัดกระบวนการเวนคืนที่ดิน
-
นโยบายการปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตรของอินโดนีเซีย
ปธน. Jokowi ต้องการใช้การปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตรเป็นนโยบายหลักในการขับเคลื่อน นโยบายเศรษฐกิจที่เป็นธรรม หรือ Just Economy เนื่องจากเห็นว่าการถือครองและการใช้ที่ดินในประเทศยังไม่มีประสิทธิภาพ มีพื้นที่จำนวนมากที่ถูกทิ้งร้าง ไม่เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ
-
รัฐบาลอินโดนีเซียขยายเวลาการอนุโลมการส่งออกสินแร่ที่ยังไม่ผ่านการถลุงบางชนิดออกไปอีก 5 ปี
เมื่อวันที่ 11 ม.ค. 2560 รัฐบาลอินโดนีเซียได้ออกระเบียบที่ 1/2017 เพื่อแก้ไขระเบียบว่าด้วยการอนุโลมการส่งออกสินแร่ที่ยังไม่ผ่านการถลุงบางชนิดเดิมเมื่อปี ค.ศ.2014
-
พัฒนาการด้านการบังคับใช้กฎระเบียบการรับรองฮาลาลอินโดนีเซีย
เมื่อเดือน ต.ค. 2559 กระทรวงศาสนาอินโดนีเซียได้ออกกฎกระทรวงที่ 42/2016 ว่าด้วยโครงสร้างและพันธกิจของกระทรวงศาสนาอินโดนีเซีย ซึ่งรวมถึงการจัดตั้งองค์กรรับรองมาตรฐานสินค้าฮาลาล
-
ธนาคารกลางอินโดนีเซียประกาศการใช้การกำหนดอัตราดอกเบี้ยนโยบายแบบใหม่
เมื่อวันที่ 19 ส.ค. 2559 ธนาคารกลางอินโดนีเซียได้เริ่มใช้การกำหนดอัตราดอกเบี้ยนโยบายแบบใหม่ คือ อัตรา 7-day Reverse Repo Rate (BI 7-Day RR Rate) อย่างเป็นทางการ
-
สรุปกฎระเบียบและขั้นตอนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมสินค้า GMO ในอินโดนีเซีย
สรุปกฎระเบียบและขั้นตอนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมสินค้า GMO ในอินโดนีเซีย จาก Drug and Food Control Newsletter Vol. 13 No. 3 ของ National Agency for Drug and Food Control (BPOM) อินโดนีเซีย
-
กระทรวงเกษตรอินโดนีเซียประกาศขึ้นทะเบียนห้องปฏิบัติการของไทย 9 แห่ง
กระทรวงเกษตรอินโดนีเซียได้ออกประกาศรัฐมนตรีว่าการกระทรวงฯ ที่ 103/KPTS/KR.040/L/1/2016 ลงวันที่ 22 ม.ค. 2559 ว่าด้วยการขึ้นทะเบียนห้องปฏิบัติการของไทย 9 แห่ง ซึ่งสามารถออกใบรับรองผลการตรวจวิเคราะห์ (Certificate of Analysis) สารตกค้างในพืช ผัก ผลไม้ ที่ส่งออกจากไทยไปยังอินโดนีเซีย
-
นโยบายน้ำมันขายปลีกในรัฐบาล Jokowi
เมื่อวันที่ 18 พ.ย. 2557 รัฐบาลอินโดนีเซียประกาศขึ้นราคาน้ำมันอุดหนุนในอัตราลิตรละ 2,000 รูเปียห์
-
การแก้ไขกฎกระทรวงเกษตรอินโดนีเซียที่ 88/2011 ว่าด้วย Food Safety Control on Importation and Exportation of Fresh Food of Plant Origin (FFPO)
กฎกระทรวงฉบับใหม่นี้จะมีผลบังคับใช้ภายใน 6 เดือน หลังจากมีการประกาศในราชกิจจานุเบกษาของอินโดนีเซีย ซึ่งคาดว่าจะเป็นช่วงประมาณเดือน เม.ย.-พ.ค. 2558
-
อินโดนีเซียดันอุตสาหกรรมไข่มุกผงาดเวทีโลก ครองส่วนแบ่งการผลิตไข่มุกโลกถึง50%
แม้ทุกวันนี้ อินโดนีเซีย จะเป็นหนึ่งในกลุ่มผู้ผลิตไข่มุกรายใหญ่สุดของโลก แต่ผู้เชี่ยวชาญก็เห็นว่า มีความจำเป็นที่ประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้แห่งนี้
-
อุตสาหกรรมปิโตรเคมีในประเทศอินโดนีเซีย
อินโดนีเซียเติบโตอย่างรวดเร็วในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมา นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 2010 เติบโตเฉลี่ยเกินกว่าร้อยละ 6 ยกเว้นปี 2013 ที่การเติบโตชะลอตัวลงเล็กน้อยอยู่ที่ ร้อยละ 5.78
-
การห้ามส่งออกสินแร่ที่ยังไม่ผ่านการถลุง ภายใต้กฎหมายเหมืองแร่ ปี ค.ศ. 2009
รัฐบาลอินโดนีเซียได้ประกาศใช้กฎหมายเหมืองแร่ (Mining Law ) ปี ค.ศ. 2009 เพื่อทดแทนกฎหมายเดิมที่ประกาศใช้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1967
-
กฎกระทรวงเกษตรและกระทรวงการค้าอินโดนีเซียเกี่ยวกับการนำเข้าผลิตภัณฑ์พืชสวนจากต่างประเทศฉบับใหม่
กระทรวงเกษตรอินโดนีเซียได้ออกกฎกระทรวงว่าด้วยการออกหนังสือรับรองการอนุญาตนำเข้าผลิตภัณฑ์พืชสวนจากต่างประเทศ
-
เอทานอลและไบโอดีเซลในอินโดนีเซีย
อินโดนีเซียผลิตไบโอดีเซล เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จาก 781 ล้านลิตร ในปี 2553 เป็น 1.52 พันล้านลิตร ในปี 2554 โดยใช้บริโภคภายในร้อยละ 10
-
การขึ้นค่าแรงในอินโดนีเซีย
ต้นปีที่ผ่านมาจังหวัดต่างๆ ทั่วอินโดนีเซียทะยอยประกาศขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ ในสัดส่วนที่แตกต่างกัน ในส่วนของกรุงจาการ์ตาประกาศขึ้นจาก ๑.๕ ล้านรูเปียห์/เดือน เป็น ๒.๒ ล้านรูเปียห์/เดือน
-
การเปลี่ยนแปลงค่าเงินรูเปียห์ (Rupiah Redenomination)
ภายหลังจากที่ธนาคารกลางเคยประกาศว่าจะเริ่มนโยบายเปลี่ยนแปลงค่าเงินรูเปียห์ (rupiah redenomination) เมื่อปี ๒๐๑๐ เมื่อปลายปีที่ผ่านมา (๒๐๑๒)
-
กฏกระทรวงจำกัดการนำเข้าพืชเมืองร้อน
เมื่อประมาณเดือน ม. ค. ๒๕๕๕ ก.เกษตรอินโดนีเซียประกาศ กฎกระทรวง ๓ ฉบับ ได้แก่ กฎกระทรวงหมายเลข ๘๘ (กำหนดรายชื่อพืช ผัก ผลไม้สดที่ต้องตรวจสอบการนำเข้า)
-
การปฏิรูปธนาคารและสถาบันการเงินของอินโดนีเซีย
พ้นช่วงวิกฤตรัฐบาลจึงได้ปรับเปลี่ยนกฎระเบียบบางประการ เช่น จำกัดการเปิดสาขาของธนาคารต่างชาติไว้เฉพาะใน ๑๐ เมืองใหญ่ และปัจจุบันไม่มีการออกใบอนุญาตให้เปิดสาขาของธนาคารต่างชาติเพิ่มอีก
-
สถานะการผลิตเอทานอลในอินโดนีเซีย
นโยบายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการผลิตเอทานอล กฎกระทรวงพลังงานและแร่ธาตุอินโดนีเซีย ฉบับที่ 21/2008 กำหนดการใช้ส่วนผสมขั้นต่ำ
สำหรับ Bioethanol ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2008
-
อินโดนีเซียกับความร่วมมือพลังงานทางเลือก
ในช่วง ๑ ปีที่ผ่านมา อินโดนีเซียพยายามจัดระเบียบอุตสาหกรรมเหมืองแร่ ซึ่งรวมถึงถ่านหินให้ สอดคล้องกับกฎหมายเหมืองแร่ฉบับใหม่ (ฉบับ ๔/๒๐๐๙)
-
กฎหมายเหมืองแร่ (ถ่านหิน) กับผลกระทบต่อไทย
ในช่วง ๑ ปีที่ผ่านมา อินโดนีเซียพยายามจัดระเบียบอุตสาหกรรมเหมืองแร่ ซึ่งรวมถึงถ่านหินให้ สอดคล้องกับกฎหมายเหมืองแร่ฉบับใหม่ (ฉบับ ๔/๒๐๐๙)
-
กฎหมายการใช้เรืออินโดนีเซียในการขนส่งในน่านน้ำ สำหรับอุตสาหกรรมขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ
อินโดนีเซียเป็นประเทศหมู่เกาะจึงมีเขตอาณาทางทะเลและพื้นที่นอกชายฝั่งครอบคลุมบริเวณกว้าง รวมทั้งมีแหล่งทรัพยากรน้ำมันและก๊าซธรรมชาติเป็นจำนวนมาก
-
อุตสาหกรรมยานยนต์อินโดนีเซีย
อุตสาหกรรมยานยนต์อินโดนีเซียเติบโตอย่างต่อเนื่องตามการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ อินโดนีเซีย ในปี ๒๕๕๔ เศรษฐกิจอินโดนีเซียเติบโตร้อยละ ๖.๕
-
อินโดนีเซียกับการเป็น “ตลาด” หรือ “ฐานการผลิต”
อินโดนีเซียในปัจจุบันถูกมองเป็นเขตเศรษฐกิจใหม่ที่มีอัตราการเจริญเติบโตเป็นที่น่าจับตา และเริ่มเป็นแหล่งลงทุนของนักลงทุนต่างชาติ เห็นได้จากยอด FDI ที่ขยับสูงขึ้นทุกๆ ปี
-
อินโดนีเซียกับอาหารฮาลาล
อินโดนีเซียเป็นตลาดที่มีศักยภาพในธุรกิจอาหารฮาลาล เพราะประชากรอินโดนีเซีย ๒๔๐ ล้านคน เป็นมุสลิมร้อยละ ๘๘ (ประมาณ ๒๑๐ ล้านคน) หรือมากกว่าร้อยละ ๑๐ ของประชากรมุสลิมโลก
-
อินโดนีเซียกับความร่วมมือด้านความมั่นคงทางอาหาร
เมื่อวันที่ ๑๕ มี.ค. ๕๕ สื่อท้องถิ่น (The Jakarta Post) ได้ลงข่าวว่า อินโดนีเซียตกลงร่วมมือกับเมียนมาร์และกัมพูชาด้านความมั่นคงทางอาหารโดยได้ลงนามใน MOU ระหว่างกัน
-
ญี่ปุ่นลงทุนรถไฟความเร็วสูงในอินโดนีเซีย
เมื่อวันที่ ๑๙ มี.ค. ๒๕๕๕ สื่อท้องถิ่น (Jakarta Globe) รายงานข่าวว่ารัฐบาลญี่ปุ่นจะเข้ามาลงทุนโครงการรถไฟความเร็วสูงให้กับอินโดนีเซีย โดยรัฐบาลญี่ปุ่นโดยกระทรวงขนส่งภาคพื้นดิน
-
รัฐบาลอินโดนีเซียเปิดประมูลแหล่งก๊าซปิโตรเลียมรอบแรกของปี 2553
รัฐบาลอินโดนีเซียประกาศเปิดประมูลแหล่งก๊าซปิโตรเลียมในอินโดนีเซียจำนวน 20 แปลงสำหรับรอบแรกของปี 2553 โดยอธิบดีกรม Oil and Gas (MIGAS) กระทรวงพลังงานและแร่ธาตุอินโดนีเซียได้เชิญให้บริษัทที่สนใจเข้าร่วมการประมูลปกติ (Regular tender) และการยื่นข้อเสนอการประมูลโดยตรง (Direct proposal tender) ดังนี้
-
อินโดนีเซียประกาศกฎกระทรวงเกษตรควบคุมการนำเข้าพืช ผัก ผลไม้มายังอินโดนีเซีย
เมื่อวันที่ 19 ธ.ค. 54 ที่ผ่านมา รัฐบาลอินโดนีเซียประกาศออกกฎกระทรวงเกษตรฉบับใหม่ 3 ฉบับเพื่อควบคุมการนำเข้าพืช ผัก และผลไม้จากต่างประเทศซึ่งจะมีผลกระทบต่อการส่งออกสินค้าเกษตรไทยไปยังอินโดนีเซีย
-
นโยบายจำกัดการใช้น้ำมันที่ได้รับอุดหนุนกับผลกระทบโดยรวม
เมื่อช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา (๑๖ ม.ค. ๒๕๕๕) รัฐบาลให้ข่าวว่าจะจำกัดไม่ให้ผู้ใช้รถยนต์ เอกชนทั่วไป (private cars) ในเขตกรุงจาการ์ตาและบาหลีเติมน้ำมันที่รัฐอุดหนุน
-
ธนาคารกลางอินโดนีเซียประกาศใช้ข้อบังคับทางการเงินใหม่
ธนาคารกลางอินโดนีเซียได้กำหนดให้ธนาคารพาณิชย์อินโดนีเซียมี LDR อยู่ที่ร้อยละ 78-100
-
การกำหนดนโยบายภาษีของรัฐบาลอินโดนีเซียสำหรับผู้รับเหมาโครงการน้ำมันและก๊าซ
รัฐบาลอินโดนีเซียจะกำหนดมาตรการในการยกเว้นภาษีให้แก่ผู้รับเหมาโครงการน้ำมันและก๊าซสำหรับช่วงที่อยู่ในระหว่างการดำเนินการสำรวจแหล่งน้ำมันและก๊าซ
-
แผนการปรับค่าเงินสกุลรูเปียห์
ผู้ว่าการธนาคารกลางอินโดนีเซียเปิดเผยแผนการปรับค่าเงินสกุลรูเปียห์ว่ามีสาเหตุมาจากมูลค่าเงินสกุลรูเปียห์ในปัจจุบันที่ต่ำเกินไป
-
สถาบันการเงินในอินโดนีเซีย
หน้าที่พื้นฐานของธนาคารในอินโดนีเซีย คือ การเป็นตัวกลางในการนำเงินฝากจากด้านที่มีเงินส่วนเกิน เพื่อเป็นช่องทางในการจัดสรรเงินให้กับด้านที่ขาดเงินทุน
-
การประเมินกำลังการผลิตกระแสไฟฟ้าของอินโดนีเซีย
บริษัท PLN ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจผู้ผลิตกระแสไฟฟ้ารายใหญ่ของอินโดนีเซียได้ประเมินว่า อินโดนีเซียต้องใช้เงินลงทุนถึง 9.74 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
-
การทำธุรกิจเหมืองถ่านหินในอินโดนีเซีย
ในจังหวัดกาลิมันตันใต้เป็นพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรถ่านหินสูง โดยเฉพาะในเขตเมือง Tanah Bumbu จึงทำให้นักธุรกิจหลายรายประสงค์จะเข้ามาทำเหมืองถ่านหินในพื้นที่ดังกล่าวจนเกิดภาวะการแข่งขัน
-
โครงการก่อสร้างโรงงานไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ในอินโดนีเซีย
เมื่อวันจันทร์ที่ 15 มี.ค. 53 สภาผู้แทนราษฎรอินโดนีเซียได้ให้ความเห็นชอบต่อแผนโครงการก่อสร้างโรงงานไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ของรัฐบาล และประธานคณะกรรมาธิการ 6 ของสภาผู้แทนราษฎรอินโดนีเซียซึ่งรับผิดชอบเรื่องพลังงาน เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
-
รัฐบาลอินโดนีเซียให้ความสำคัญด้านความมั่นคงทางอาหาร
รัฐบาลอินโดนีเซียให้ความสำคัญด้านความมั่งคงทางอาหารเป็นอย่างมากเพื่อให้อินโดนีเซียบรรลุเป้าหมาย Millennium Development Goals (MDGs) ภายในปี 2015
-
ผลกระทบจากการปรับขึ้นอัตราค่าไฟฟ้าของอินโดนีเซีย
การประกาศปรับขึ้นอัตราฯ (โดยเฉลี่ยร้อยละ 10 และสูงสุดไม่เกินร้อยละ 18 ในกรณีที่เป็นภาคอุตสาหกรรม) เป็นผลมาจากการปรับแก้ตัวเลขงบประมาณแผ่นดินในปี 2010 เมื่อปลายพฤษภาคม 2553
ที่ผ่านมา
News 1 - 81 of 81
First | Prev. | 1 | Next | Last